Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5426
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทิพย์เกสร บุญอำไพร | th_TH |
dc.contributor.author | กนิษฐา ปิดทองคำ, 2512- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-04-04T16:32:51Z | - |
dc.date.available | 2023-04-04T16:32:51Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5426 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพการใช้สื่อการสอนของครูปฐมวัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ครูปฐมวัยของโรงเรียนประถมศึกษาทั้งโรงเรียนของรัฐบาล และโรงเรียนเอกชนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1 ที่สุ่มแบบแบ่งชั้น และสุ่มอย่างง่าย จำนวน 192 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยคือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพการใช้สื่อการสอนตามระบบการใช้สื่อการสอนของครูปฐมวัยมีการใช้สื่อการสอนโดยรวมอยู่ในระดับมากขั้นวางแผนการใช้สื่อมีการกำหนดวัตถุประสงค์ที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน ขั้นเตรียมการใช้สื่อมีการเตรียมความพร้อมของสื่อโดยตรวจสอบความปลอดภัยขั้นการใช้สื่อมีการสังเกตปฎิกิริยาตอบสนองของผู้เรียนต่อการใช้สื่อการสอน และขั้นประเมินสื่อจะประเมินผลที่ได้จากการใช้สื่อการสอน (2) สภาพการใช้สื่อการสอนตามวัตถุประสงค์ของการใช้ เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ - จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยใช้สื่อพัฒนาเด็กให้ได้เคลื่อนไหวอยู่กับที่ และเคลื่อนไหวเคลื่อนที่พัฒนาเด็กให้เล่นอิสระและด้านดนตรีโดยใช้สื่อการสอนประกอบการร้องเพลง พัฒนาเด็กผ่านการเล่นและการทำงานร่วมภับผู้อื่น และใช้สื่อการสอนส่งเสริมเด็กให้ได้เขียนในหลายรูปแบบผ่านประสบการณ์ที่สื่อความหมาย (3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้สื่อการสอนตามชนิดของสื่อโดยรวมอยู่ในระดับมาก สื่อประเภทวัสดุที่เหมาะสมในการใช้มากที่สุด ได้แก่ ดินน้ำมัน สีเทียน และหนังสือภาพนิทาน สื่อประเภทอุปกรณ์ที่เหมาะสมในการใช้มากที่สุด ได้แก่ ไม้บล็อก พลาสติกสร้างสรรค์สื่อประเภทวิธีการ ที่เหมาะสมในการใช้มากสูงสุด คือ การสาธิต | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | เด็กวัยก่อนเข้าเรียน--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | เด็กวัยก่อนเข้าเรียน--ไทย--ลพบุรี | th_TH |
dc.subject | สื่อการสอน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา | th_TH |
dc.title | ความคิดเห็นของครูปฐมวัยเรื่องการใช้สื่อการสอนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1 | th_TH |
dc.title.alternative | Opinions of early childhood teachers on using instructional media for earlychildhood learning development in Schools under the Office of Lopburi Educational Service Area 1 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
128706.pdf | 8.87 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License