Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5433
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์th_TH
dc.contributor.authorนัทธนญา ภรภัทรรังษีกรth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-04-05T02:08:58Z-
dc.date.available2023-04-05T02:08:58Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5433en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาบ่ระเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการให้บริการด้านสังคมสงเคราะห์ของสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย (2) เพื่อศึกษาวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งผลกระทบกับประสิทธิภาพและประสิทธิผลการให้บริการด้านสังคมสงเคราะห์ของสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทคไทย (3) เพื่อเสนอแนะในการปรับปรุงแก้ไขการให้บริการด้านสังคมสงเคราะห์ของสภาสังคมสงเคราะห์ แห่งประเทศไทยและหน่วยงานอื่น ๆ ต่อไป การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรศึกษา คือ ตัวแทนของสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ประกอบไปด้วย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการจำนวน 119 คน และกลุ่มประชากรผู้รับบริการจำนวน 367 คน เครึ่องมีอที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 2 ชุด ชุดแรกใช้สอบถามประสิทธิภาพการให้บริการจากเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการชุดที่สองใช้สอบถามประสิทธิผลการให้บริการจากประชากรผู้รับบริการ โดยมีค่าความเชื่อถึอได้เท่ากับ .96 และ .97 ตามลำดับสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มตัวอย่างใช้หลักสถิดิประเภท ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบแบบ t-test และใช้การวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ ผลการศึกษาพบว่า 1) ระดับความสำเร็จของประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการให้บริการประชาชนโดยภาพรวมอยู่ระดับน้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 โดยได้ค่าจากการทดสอบ Significance < .05 และค่า t < 0 ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมดิฐานที่ตั้งไว้ 2) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่าง ๆ กับระดับประสิทธิภาพและประสิทธิผล พบว่า ปัจจัยด้านการจัดองค์การความชัดเจนของแผนงานและโครงการ งบประมาณและการบริหารงานบุคคลมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิภาพการให้บริการประชาชน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 สวนปัจจัยนำเข้า หลักความโปร่งใสและหลักความคุ้มค่ามีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิผลการให้บริการประชาชน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิดิที่ระดับ .05 จากการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะให้มีการปรับปรุงโครงสร้างองค์การให้เป็นแบบองค์การสมัยใหม่ โดยมีกระบวนการทำงานทีสั้นลง และใช้ระบบเทคโนโลยีสมัยใหม่ด้านไอทีมาช่วยพัฒนาระบบการทำงานเพื่อลดขั้นตอน ลดความซ้ำช้อนและลดเวลาทำงาน ทั้งนี้เพื่อเพื่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการให้บริการขององค์การทั้งระบบth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทยth_TH
dc.subjectสังคมสงเคราะห์th_TH
dc.titleประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการให้บริการด้านสังคมสงเคราะห์ : ศึกษาเฉพาะกรณีการให้บริการของสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeEfficiency and effectiveness of service delivery of social welfare service : a case study of the service delivered by National Council on Social Welfare of Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the research were to 1) study the efficiency and effectiveness of the service delivery of Social Welfare Service of Service of National Council on Social Welfare of Thailand 2) study the relationship of the affecting factors and the efficiency and effectiveness of service of National Council on Social Welfare of Thailand 3) suggest the improvement of the services delivered by National Council on Social Welfare of Thailand. This study was a survey research. Samples were consisted of two groups which were a group of 119 service officials and a group of 367 service recipients. Two sets of questionnaires were employed as instruments. The first was used to measure the efficiency of service as perceived by the officials. The other was used to measure the effectiveness of service as perceived by recipients. The reliability coefficients of two questionnaires were 0.96 and 0.97 consecutively. Statistical tools used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test and multiple regressions analysis. The research result revealed that 1) the overall efficiency and effectiveness of the service delivery were lower than or equal to 70% at < .05 level of significance and t value < 0, therefore the research hypothesis was denied 2) as for the analysis of the relationship between factors and the level of efficiency and effectiveness, it was found that four factors which were the organization, visibility of work plan and project, budgeting, and human resources management, were positively related to the efficiency of the service at .05 level of significance; while factors of input resources, a principle of transparency, and a principle of value worthwhile, were positively related to the effectiveness of the service at .05 level of significance. The suggestions were: National Council on Social Welfare of Thailand should improve the organizational structure to be more modem with short processes; using modem IT to develop new service delivery system, so processes would be streamlined, duplicated activities would be eliminated, process cycle time would be reduced, which would consequently result in the increase of the efficiency and the effectiveness of service delivery of the organization as a whole.en_US
dc.contributor.coadvisorสุรพร เสี้ยนสลายth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
107669.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons