Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5457
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชินรัตน์ สมสืบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorดุษณี ดานาพงศ์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-04-05T03:50:26Z-
dc.date.available2023-04-05T03:50:26Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5457-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความสำเร็จของการนำแผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ (2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการนำแผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติของกรมส่งเสริมสหกรณ์ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการนำแผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติกับความสำเร็จในการนำแผน กลยุทธ์ไปปฏิบัติ (4) ศึกษา ปัญหา อุปสรรค ในการนำแผนกลยุทธ์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ไปปฏิบัติ การศึกษาวิจัยนี้ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงประเมิน และการวิชัยเชิงสำรวจ ประชากรใน การศึกษา คือ ข้าราชการกรมส่งเสริมสหกรณ์ในส่วนภูมิภาค 75 จังหวัด และ 2 พื้นที่ (กทม.) จำนวน 77 แห่ง จำนวนบุคลากรทั้งสิ้น 2,556 คน โดยมีกลุ่มตัวอย่าง 346 ตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัย พบว่า (1) การนำแผนกลยุทธ์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ไปปฏิบัติมีความ สำเร็จในระดับปานกลาง (2) ปัจจัยทั้ง 5 ได้แก่ การแปลงกลยุทธ์ให้มีความหมายเชิงปฏิบัติ การจัด องค์กรให้เหมาะสมกับกลยุทธ์ การทำให้การสนองต่อกลยุทธ์เป็นหน้าที่ของทุกคน การทำให้กลยุทธ์ เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่อง การใช้ความเป็นผู้นำของผู้บริหารผลักดันให้เกิดความเปลี่ยนแปลง มีผลต่อ การนำแผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติ และมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง (3) ปัจจัยการแปลงกลยุทธ์ให้มี ความหมายเชิงปฏิบัติ และการใช้ความเป็นผู้นำของผู้บริหารผลักดันให้เกิดความเปลี่ยนแปลง มีความสัมพันธ์กับความสำเร็จในการนำแผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติทุกด้าน (4) ปัญหาและอุปสรรคในการ นำแผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติ พบว่า บุคลากรขาดการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนกลยุทธ์ และขาดความเข้าใจ ในการนำแผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติ และเพื่อนำแผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติไม่ได้ปรับโครงสร้าง หรีอออกแบบ องค์การให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงาน จากการวิจัยมีข้อเสนอแนะ ดังนี้ ควรมีการชี้แจง ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ให้ ทราบทั่วทั้งองค์กรเพื่อให้ทุกคนเข้ามามีส่วนร่วม ควรพัฒนาความรู้ทางวิชาการสมัยใหม่แก่บุคลากรอย่าง ต่อเนื่อง ในส่วนของผู้บริหารนั้น ควรใช้ภาวะผู้นำผลักดันกระตุ้น และเอาใจใส่อย่างจริงใจต่อการนำ แผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติ นอกจากนั้นควรปรับโครงสร้างหรึอจัดองค์กรให้สอดคล้อง เชื่อมโยง และ เอื้ออำนวยต่อการนำแผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรมส่งเสริมสหกรณ์th_TH
dc.subjectการวางแผนเชิงกลยุทธ์th_TH
dc.subjectการนำนโยบายไปปฏิบัติth_TH
dc.titleการนำแผนกลยุทธ์ไปไปฏิบัติ : ศึกษาเฉพาะกรณี กรมส่งเสริมสหกรณ์th_TH
dc.title.alternativeAn implementation of strategic plan of Cooperative Promotion Departmentth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study had the objective to investigate (1) the achievement in implementing strategic plan, (2) factors affecting implementation of strategic plan, (3) the relationship between factors affecting implementation and achievement in implementing strategic plan, and (4) problems and obstacles of implementing strategic plan. The methodology applied in this study was evaluation and survey researches. The population was 2,556 government officials of Cooperative Promotion Department spreading in 77 provincial cooperative offices: 75 offices from regional areas and 2 offices in Bangkok. The total sample of 346 was obtained. The tool used to gather data was questionnaire. The statistical analysis was conducted by using SPSS for Windows. The data was analyzed by using frequency, mean, percentage, standard deviation and multiple regression analysis. This research study found that (1) the achievement from the application of strategic plan was acceptable at a moderate level, (2) there were 5 factors affecting implementation of strategic plan at a moderate mean value ะ 1) translating the strategy to operational terms, 2) adjusting the organizational structure in accordance with strategy, 3) making the strategic plan implementation everyone’s job ; and 4) making the strategy a continual process, and 5) mobilizing change through executive leadership, (3) there is a significant relationship between the achievement in implementing strategic plan and translating the strategy to operational terms and mobilizing change through executive leadership, and (4) the problems and obstacles of implementing strategic plan are as follows ะ lacking of participation in strategic planning, lacking of understanding in implementing strategic plan, and lacking of adjusting an organizational structure in accordance with organizational performance. The suggestion was that explanation and publicity should be held to make sure all officials participate in the strategic planning of the organization. The officials should be provided with modem know-how continuously. The executives must push officials to implement strategic plan seriously, furthermore, the organizational structure should be adjusted in order to facilitate the implementation of strategic planen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
107690.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.37 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons