Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/546
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณัฏฐพร พิมพายน | th_TH |
dc.contributor.author | อาภาพร วินิจกุลชัย, 2516- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-11T11:24:15Z | - |
dc.date.available | 2022-08-11T11:24:15Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/546 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงฅ์เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการติดตามโครงการของมูลนิธิเอเชีย ประเทศไทยวิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการติดตามโครงการนี้ใช้หลักการของวงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศโดยเริ่มจากการศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้นพบว่าข้อมูลโครงการยังขาดความครบถ้วนสมมูรณ์และถูกจัดเก็บในที่ต่าง ๆ ยากแก่การค้นหาและการแก้ไขให้ข้อมูลมีความทันสมัย จากนั้นทำการวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศใหม่ ระบบสารสนเทศใหม่นี้ประกอบด้วยระบบงานย่อย 4 ระบบ คือ ระบบการตรวจสอบสิทธิการใช้งาน ระบบการค้นหาข้อมูล ระบบคำนวณวันที่ และระบบการปรับปรุงข้อมูล ในการพัฒนาระบบสารสนเทศนี้ได้ใช้ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows XP Professional เว็บเซร์ฟเวอร์ Apache โปรแกรมภาษา PHP และโปรแกรมฐานข้อมูล MySQL ระบบจะถูกติดตั้งอยู่บนเครือขำยอินทราเน็ตของมูลนิธิฯผลที่ได้รับจากการวิจัยนี้ทำให้เจ้าหน้าที่สามารถบันทึกข้อมูลโครงการ และใช้ข้อมูลโครงการร่วมกันได้อย่างสะดวก สามารถตอบสนองต่อความต้องการของเจ้าหน้าที่ได้รวดเร็วยิ่งขึ้น ข้อมูลมีความถูกต้อง โดยเฉพาะในส่วนการบันทึกข้อมูล ในหนึ่งโครงการจะกำหนดให้มีเจ้าหน้าที่มากกว่า 1 คนทำหน้าที่รับผิดชอบนำเข้าข้อมูลในส่วนที่แตกต่างกันตามขอบเขตงานที่รันผิดชอบในโครงการหนึ่ง ๆ โดยจัดแบ่งข้อมูลให้เจ้าหน้าที่แต่ละคนนำเข้าสู่ระบบ เพื่อไม่เป็นภาระงานที่มากเกินไป และเจ้าหน้าที่เกิดความเต็มใจในการนำเข้าข้อมูลอีกด้วย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.250 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มูลนิธิเอเชียประเทศไทย | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ | th_TH |
dc.title | การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการติดตามโครงการ : กรณีศึกษามูลนิธิเอเชียประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Development of the information system for project tracking : a case of the Asia Foundation, Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2007.250 | - |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศิลปศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of the research was to develop the information system for project tracking at The Asia Foundation, Thailand. The system development life cycle methodology was applied for this research. A preliminary study focused on the existing problems. It was found that the project information had been incompleted, and was kept in many different locations. This made it difficult to search and update the information. The analysis and design of a new system was carried out accordingly. The newly designed information system consisted of four subsystems: the user verification subsystem, the search subsystem, the date calculation subsystem, and the editing subsystem. The program type used to develop this operation system was Microsoft Windows XP Professional. The system used PHP language, Apache web server, and MySQL database management system. The system was hosted on the Foundation’s network. The result of the research was that all staff could conveniently record and use project information together. The system met the requirements of all staff and the information was timely and accurate. The system was particularly designed to allow more than one authorized staff member to input their part of information in different sections, in accordance with their assigned duties in the project. This reduced the workload. Therefore, it makes all staff willing to input information. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ทัศนีย์วรรณ์ ศรีประดิษฐ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Arts-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext (3).pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.4 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License