Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5493
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ | th_TH |
dc.contributor.author | กาญจนาภา ชาวไชย, 2525- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-04-05T07:35:34Z | - |
dc.date.available | 2023-04-05T07:35:34Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5493 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพ ปัญหา และความต้องการการใช้แท็บเล็ต เพื่อการสอนของครูในสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 218 คน โดยวิธีการสุ่มแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามสภาพปัญหา และความต้องการการใช้แท็บเล็ตเพื่อการสอนของครู สถิติที่ใช้ไนการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่าครูมีความคิดเห็นต่อสภาพปัญหา และความต้องการการใช้แท็บเล็ตเพื่อการสอนของครู โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าสภาพการใช้แท็บเล็ตเพื่อการสอนของครูอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีข้อที่ได้รับค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ เนื้อหาวิชาที่ได้จากแท็บเล็ตเหมาะสม และเป็นประโยชน์แก่ผู้เรียน ปัญหาการใช้แท็บเล็ตเพื่อการสอนของครูอยู่ในระดับปานกลางโดยมีข้อที่ได้รับค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ไม่สามารถออกแบบหรือสร้างบทเรียนผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์พกพาในรายวิชาที่สอน และความต้องการการใช้แท็บเล็ตเพื่อการสอนของครูอยู่ในระดับมากโดยมีข้อที่ได้รับค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ต้องการ บทเรียน / แอพพลิเคชั่นที่มีภาพเคลื่อนไหวและมีเสียง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ | th_TH |
dc.subject | การสอนด้วยสื่อ | th_TH |
dc.subject | ครูประถมศึกษา--การสอนด้วยสื่อ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา | th_TH |
dc.title | สภาพ ปัญหา และความต้องการใช้แท็บเล็ตเพื่อการสอนของครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1 | th_TH |
dc.title.alternative | State, problems and needs for the use of Tablets for teaching of teachers in schools under the Uttaradit Primary Education Service Area Office 1 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this study was to investigate the state, problems and needs for the use of tablets for teaching of teachers in schools under Utaradit Primary Education Service Area Office 1. The research sample consisted of 218 randomly selected teachers teaching in schools under Utaradit Primary Education Service Area Office 1 in the 2015 academic year. The employed research instrument was a questionnaire the state, problems and needs for the use of tablets for teaching of teachers. Statistics for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings showed that the overall rating mean of teachers’ opinions toward the state, problems and needs for the use of tablets for teaching was at the moderate level. When specific aspects were considered, it was found that the rating mean for the state of using tablets for teaching was at the moderate level, with the item receiving the top rating mean being that on the contents retrieved from the tablets being appropriate and useful for the learners; the rating mean for the problems of using tablets for teaching was at the moderate level, with the item receiving the top rating mean being that on the teachers being not able to design or create lessons via tablets in their courses; and the rating mean for the needs for using tablets for teaching was at the high level, with the item receiving the top rating mean being that on the needs for audio animation programs/applications. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
148839.pdf | 14.9 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License