Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/549
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเรณุการ์ ทองคำรอด, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวาริณี เอี่ยมสวัสดิกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบังอร สิงห์แก้ว, 2505--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-13T02:11:42Z-
dc.date.available2022-08-13T02:11:42Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/549-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยที่มีผลต่อความเครียด จากการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ (2) ความเครียดจากการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ และ (3) อำนาจการทำนายของปัจจัยที่มีผลต่อความเครียดจากการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี กลุ่มตัวอย่าง เป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การทำงานตั้งแต่ 1 ปี ขึ้นไปในหอผู้ป่วยใน โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จำนวน 115 คน ได้จากการสุ่มแบบมีระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอยด้วย 3 ส่วน ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล ส่วนที่ 2 ปัจจัยที่มีผลต่อความเครียดจากการทำงาน และส่วนที่ 3 แบบประเมินความเครียดจากการทำงาน ของพยาบาลวิชาชีพ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน ได้ค่า CVI ของแบบสอบถาม ส่วนที่ 2 และ 3 เท่ากับ 0.83 และ 0.86 ตามลำดับ มีค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงของ แบบสอบถาม เท่ากับ 0.90 และ 0.93 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพมี (1) ปัจจัยที่มีผลต่อความเครียดจากการทำงาน ของพยาบาลวิชาชีพโดยรวมอยูในระดับปานกลาง (2) ความเครียดจากการทำงาน อยู่ในระดับต่ำ(3) ปัจจัยด้านองค์กรและการจัดการมีอำนาจทำนายความเครียดจากทำงานของพยาบาลวิชาชีพได้ ร้อยละ 26.80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.rights.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.78-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความเครียดในการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความเครียดในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting job stress of professional nurses at Sapphasitthiprasong Hospital, Ubonratchathani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2015.78-
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were: (1) to study factors affecting job stress of Professional Nurses (2) to study the level of job stress and (3) to analyze factors predicting the stress of professional nurses at Sapphasitthiprasong Hospital Ubon Ratchathani Province The sample of this study included 115 professional nurses who had worked at in - patient department for at least one year . They were selected by the systematic sampling technique. The research instrument was questionnaires including three part: part 1: personal data, part 2: job factor questionnaires and part 3: stress record sheet. The content validity of questionnaires was verified by five experts. The CVIs of the second and the third section were .83, and .86 respectively. The Cronbach’s alpha coefficients of the second and the third section were .90, and .93 respectively. Research data were analyzed by frequency, percentage, mean, and standard deviation, and stepwise multiple regression analysis. The results of this study were as follows. (1) Professional nurses rated their factors affecting job Stress at the moderate level. (2) The stress of professional nurses was low level ( X̅ = 2.07, SD = 0.61) . and (3) organizational factor and managements could predict the stress. These predictors accounted for 26.80 % (R2= 0.268, p<0.001)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext 151536.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.37 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons