Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/550
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฏฐพร พิมพายน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorทัศนีย์วรรณ์ ศรีประดิษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวัฒนา ไพศาลเจริญพงศ์, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-13T02:24:03Z-
dc.date.available2022-08-13T02:24:03Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/550-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนึ้มีวัตถุประสงค์เพึ่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลการจัดการฮาร์ดแวร์ คอมพิวเตอร์เพื่อการตัดสินใจ ของศูนย์ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการ ผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยจัดเก็บข้อมูลฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์แยกตามรหัสเคริ่อง คอมพิวเตอร์และผู้รับผิดชอบเครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถค้นหาข้อมูลรายละเอียดคอมพิวเตอร์ ภายในระบบได้อย่างสะดวกรวดเร็ว มีระบบสำรองข้อมูลป้องกันข้อมูลสูญหาย มีส่วนแสดงผล ข้อมูลเพึ๋อนำไปใช้สนับสนุนการตัดสินใจในการส่งซ่อมและเลือกซื้อสำหรับผู้บริหาร วิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการวางแผนฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ใช้หลักการของ วงจรพัฒนาระบบสารสนเทส โดยเริ่มจากการศึกษาและวิเคราะห์ระบบงานปัจจุบัน การจัดเก็บเอกสาร ข้อมูลฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ นำข้อมูลที่ได้ไปออกแบบฐานข้อมูลและพัฒนาระบบ ทดสอบติดตั้งไช้ งานระบบ รวมทั้งใหัใช้งานประเมินผล ระบบสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วยเมนูทั้งหมด 15 เมนู สำหรับใช้งานระบบทั้งหมด 3 กลุ่ม คือ ผู้ดูแลระบบ ผู้บริหาร และอาจารย์/เจ้าหนัาที่ ซึ่งจะ ได้รับเมนูต่างๆ ตามสิทธิและระดับการใช้งานที่ผู้ดูแลระบบกำหนด การพัฒนาระบบได้ใช้ภาษา PHP และระบบจัดการฐานข้อมูล MySQL ภายใต้ระบบปฎิบัติการ Microsoft Windows XP Professional ผลที่ได้จากการวิจัย ทำใหัได้ระบบสารสนเทศที่อำนวยความสะดวกในการจัดเก็บ และสืบค้นข้อมูลรายละเอียดฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ ได้ง่าย สะดวกและรวดเร็ว สามารถบันทึก ประวัติการส่งซ่อมและรับคืนอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ มีส่วนแสดงผลสถานะการส่งซ่อม อีก ทั้งระบบสามารถคำนวณมูลค่าสุทธิ และแสดงผลสถิติการส่งซ่อมคอมพิวเตอร์ให์กับผู้บริหาร ประกอบการตัดสินใจในการเลือกซื้อและเลือกซ่อมได้อย่างถูกต้องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.210-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ศูนย์ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคอมพิวเตอร์--ฐานข้อมูลth_TH
dc.subjectคอมพิวเตอร์--การบำรุงรักษาและการซ่อมแซม--ฐานข้อมูลth_TH
dc.subjectระบบสนับสนุนการตัดสินใจth_TH
dc.titleการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการวางแผนฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ : กรณีศูนย์ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์th_TH
dc.title.alternativeThe development of the information system for computer hardware planning : a case of the Computer Center, Faculty of Architecture and Planning, Thammasat Universityth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.210-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the research was to develop a database system of computer hardware planning for the decisions of the Computer Center at the Faculty of Architecture and Planning in Thammasat University. The system stored hardware information by classifying it by computer codes and the personnel in charge. The administrator could then retrieve detailed information in the computer system quickly. The backup system could prevent data loss, and the data display could support the administrator’s decision-making on repairment and purchasing of equipment. The method for developing the information system for computer hardware planning was based on the principle of information system development. First, the existing work and hardware document storage systems were studied and analyzed. Then the data thus derived was employed to design the database and the system was developed. After that the system was installed. It was then tested and evaluated by users. The information system consisted of 15 menus for 3 groups of users; namely, administrators, directors, and teachers/staff. Each had access to different levels of menus depending on their privileges and levels of use. The system used PHP language and a MySQL database server under the Microsoft Windows XP Professional program. The result of the research rendered an information system enabling quick and easy hardware data storage and retrieval. The data included records on computer hardware repairment and return status. The system could also calculate net value, and display a repair record for the administrator’s decision on purchasing and repairmenten_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.94 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons