Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5536
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัตนา ดวงแก้ว, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorขนิษฐา สุขทิพย์, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-04-07T03:48:53Z-
dc.date.available2023-04-07T03:48:53Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5536-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาภาวะผู้นำทางวิชาการของครูเพื่อการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 ในสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สหวิทยาเขตทุ่งใหญ่ สังกัดสำนัก งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 12 จังหวัดนครศรีธรรมราช (2) เปรียบเทียบภาวะผู้นำทางวิชาการของครู เพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยจำแนกตามตำแหน่ง ประสบการณ์ในการสอน และระดับการศึกษา และ (3) ศึกษาข้อเสนอแนะในการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของครูเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอนในสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สหวิทยาเขตทุ่งใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เขต 12 ในปี 2559 จำนวนทั้งสิ้น 108 คนโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่าเกี่ยวกับภาวะผู้นำทางวิชาการของครูเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.96 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์เนี้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภาวะผู้นำ ทางวิชาการของครูเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สหวิทยาเขตทุ่งใหญ่ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ครูที่มีตำแหน่งประสบการณ์ในการสอน และระดับการศึกษาแตกต่างกัน มีภาวะผู้นำทางวิชาการของครูเพื่อการ เรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 โดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ -01 และ (3) ข้อเสนอแนะในการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของครูเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ หลักสูตรสถานศึกษาที่ออกแบบโดยการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษาควรนำไปใช้ เพื่อบูรณาการองค์ความรู้ให้เกิดการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ตอบสนองควานต้องการของนักเรียนและสังคม ครูควรได้รับการอบรมอย่างสมํ่าเสมอให้สามารถใช้สื่อนวัตกรรม และเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อการเรียนรู้ของนักเรียนและควรได้รับการสนับสนุนเกี่ยวกับงบประมาณ และผู้บริหารสถานศึกษาควรนิเทศ ติดตาม และช่วยแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนของครู โดยอาศัยการวิจัยในชั้นเรียน เพื่อให้มีกลวิธีการสอนทันสมัยและสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม พร้อมทั้งให้ครูมีโอกาส แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการจัดการชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ควรส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาครูแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectครู--ไทย--นครศรีธรรมราชth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารth_TH
dc.titleภาวะผู้นำทางวิชาการของครูเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาสหวิทยาเขตทุ่งใหญ่สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 12 จังหวัดนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeTeachers’ instructional leadership for the 21st century learning in Thung Yai consortium Secondary Schools under the Secondary Education Service Area Office 12 in Nakhon Si Thammarat Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study teachers’ instructional leadership for the 21st Century learning in Thung Yai Consortium secondary schools under the Secondary Education Service Area Office 12 in Nakhon Si Thammarat province; (2) to compare teachers’ instructional leadership for the 21st Century learning, as classified by teacher position, teaching experience, and educational level; and (3) to study the suggestions for Cevelopment of teachers’ instructional leadership for the 21st century learning. The sample consisted of 108 teachers in Thung Yai Consortium secondary schools under the Secondary Education Service Area Office 12 in the academic year 2016, obtained by stratified random sampling. The employed research instrument was a rating scale questionnaire on teachers’ instructional leadership for the 21st Century learning, with reliability coefficient of .96. The research data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, one-way ANOVA, t-test, and content analysis. The research findings were as follows: (1) the overall teachers’ instructional leadership for the 21st Century learning in Thung Yai Consortium secondary schools was rated at the high level; (2) teachers with different levels of position, teaching experience, and educational level significantly differed in their overall instructional leadership for the 21st Century learning at the .01 level; and (3) suggestions concerning development of teachers’ instructional leadership for the 21st Century learning were as follows: school curriculum designed by stakeholders involved should be implemented to integrate knowledge in order to create innovations responding to the needs of students and society; teachers should be regularly trained on how to use instructional media, innovations, and modem technology to facilitate student learning, as well as to be supported on the budget; and school administrators should supervise, monitor, and help teachers’ solving teaching and learning based on classroom research in order to develop modern teaching strategies in line with the changes of society, especially providing opportunities for teachers to share experiences about effective classroom management, and promoting teachers’ professional learning community.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156375.pdf7.49 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons