Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5541
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุชาดา สถาวรวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธัญญรัศม์ วศวรรณวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกมลทิพย์ อักษรทอง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-04-07T04:34:48Z-
dc.date.available2023-04-07T04:34:48Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5541-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษากระบวนการผลิตพลังงานทดแทนใน อุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันในจังหวัดกระบี่ (2) ศึกษาต้นทุนการผลิตพลังงานทดแทนใน อุตสาหกรรมปาล์มนั้ามันในจังหวัดกระบี่ (3) เปรียบเทียบต้นทุนการผลิตพลังงานทดแทนของ อุตสาหกรรมปาล์ม้ำมันในจังหวัดกระบี่ที่มีกำลังการผลิตต่างกัน (4) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคที่ เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตพลังงานทดแทนในอุตสาหกรรมปาล์มนั้ามันในจังหวัดกระบี่ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือโรงงานอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันในจังหวัดกระบี่ที่มีการผลิต พลังงานทดแทน จำนวน 6 โรงงาน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูล เป็นการวิเคราะห์โดยใข้ค่าเฉลี่ย การวิเคราะห์ด้านบัญชีด้นทุน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) กระบวนการผลิตพลังงานทดแทนใช้ระบบหม้อไอนั้า และ กังหันไอนั้า โดยใช้เชื้อเพลิงชีวมวล 5 โรงงาน และเชื้อเพลิงก๊าซชีวภาพ 1 โรงงาน เชื้อเพลิงจะทำ ใหัหมัอไอน้ำร้อนและเกิดไอนํ้าขึ้น ต่อจากนั้นไอน้ำจะไปหมุนกังหันไอน้ำทำให้เกิดกระแสใฟฟ้า (2) ต้นทุนการผลิต แบ่งเป็น 2 กรณี กรณีที่ 1 คิดเศษวัสดุเหลือใช้เป็นต้นทุนการผลิต ในการใช้ เชื้อเพลิงชีวมวลมีต้นทุนการผลิดเฉลี่ยต่อหน่วย 3.71 บาท และ 2.60 บาทตามลำดับสำหรับการใช้ เชื้อเพลิงก๊าซชีวภาพ กรณีที่ 2 ไม่คิดเศษวัสดุเหลึอใช้เป็นต้นทุนการผลิต ในการใช้เชื้อเพลิงชีวมวล จะมีต้นทุนการผลิตเฉลี่ยต่อหน่วย 2.01 บาท และ 1.85 บาท ตามลำดับสำหรับการใช้เชื้อเพลิงก๊าซ ชีวภาพ (3) การเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตแบ่งออก เป็น 2 กลุ่ม คือ โรงงานขนาดเล็ก มีกำลังการ ผลิดไม่เกิน 45 ตันทะลายต่อชั่วโมง และโรงงานขนาดใหญ่มีกำลังการผลิดตั้งแต่ 45 ตันทะลายต่อ ชั่วโมงขึ้นไป ในกรณีที่ 1 มีต้นทุนการผลิตเฉลี่ยต่อหน่วย 4.55 และ 3.47 บาทตามลำดับ และใน กรณีที่ 2 มีต้นทุนการผลิตเฉลี่ยต่อหน่วย 2.16 และ 1.96 บาท ตามลำดับ (4) ปัญหาและอุปสรรค ขาดแคลนเทคโนโลยึที่ทันสมัย และประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าตํ่า การลงทุนสูง และขาดการวิจัย ในการนำเศษวัสดุเหลิอใช้ทางการเกษตรอื่นมาใช้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.386-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมัน--ต้นทุนการผลิต.--ไทย--กระบี่th_TH
dc.subjectพลังงานทดแทน--ต้นทุนการผลิตth_TH
dc.titleต้นทุนการผลิตพลังงานทดแทนในอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันในจังหวัดกระบี่th_TH
dc.title.alternativeProduction cost of renewable energy of oil palm industry in Krabi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.386-
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to : (I) study production process of renewable energy of oil palm industry in Krabi Province ; (2) study production cost of renewable energy of oil palm industry in Krabi Province ; (3) compare production cost of renewable energy of oil palm industry regarding different production capacity; and (4) study problems involving production process of renewable energy of oil palm industry in Krabi Province. The samples of this research were 6 factories of renewable energy of oil palm industry in Krabi Province. The research instruments were interviewing and recording form. Statistical procedures for data analysis were mean, cost accounting analysis and content analysis. The research findings were as follows ; (1) production processes of renewable energy consisted of boiler system and steam turbine. Five factories used biomass as fuel while the other one uses biogas. The process used fuel to heat the boiler for routing the turbine to produce electricity; (2) production cost could be divided into 2 eases. For ease 1 with residual materials being part of the fuel cost, the average production costs for factories using biomass and biogas per kilowatt-hour(kwh) were 3.71 bath and 2.60 bath, respectively. For ease 2 with no residual materials being part of the cost, the average production costs for factories using biomass and biogas per kilowatt-hour(kwh) were 2.01 bath and 1.85 bath, respectively; (3) the average production cost comparison of small and large factories with the production capacity of less than 45 and 45-60 bunch-ton were 4.55 bath and 3.47 bath, respectively in ease I and 2.16 bath and 1.96 bath, respectively in case 2; and (4) problems involving production process of renewable energy of oil palm industry in Krabi Province were lack of modem technology, low production efficiency, high investment and lack of research about using other residual agricultural material to produce the energyen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108597.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.78 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons