กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5580
ชื่อเรื่อง: การสร้างคู่มือครูสำหรับออกแบบกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ที่พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3
ชื่อเรื่องอื่นๆ: A construction of teacher's handbook for organizing science activities to development science creative Thinking of third level students
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: นวลจิตต เชาวกีรติพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษา
ธนิต สุฐาปัญณกุล, 2519-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณี
วิทยาศาสตร์--คู่มือ
ความคิดสร้างสรรค์--การศึกษาและการสอน
การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน
วิทยาศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอน
วันที่เผยแพร่: 2550
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับนี้วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างคู่มือครูในการจัดการเรียนรู้วิชา วิทยาศาสตร์โดยใช้ภูมิปัญญาหลวงสำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 ลักษณะของการค้นคว้าฉบับนี้เป็นการนำเสนอผลงานทางด้านวิชาการประเภทคู่มือครู ประกอบด้วยเนื้อหาสาระ 3 บท ดังนี้ บทที่ 1 ว่าด้วยความเป็นมาและความหมาย วัตถุประสงค์ขอบเขตการสร้างคู่มือตรู และประโยชน์ที่กาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 ว่าด้วยการวิเคราะห์กรมีโกรงการภูมิปัญญาหลวง ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาสาระวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์มาตรฐาน การเรียนรู้ช่วงชั้นวิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ช่วงชั้นที่ 3 และการวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้มาตรฐานตามหลักสูตรขั้นพื้นฐาน บทที่ 3 สรุปการสร้างคู่มือครู การตรวจสอบคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิและข้อเสนอแนะของการสร้างคู่มือครูผลการประเมินกุณภาพการสร้างกู่มือกรูในการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ โดยใช้ภูมิ ปัญญาหลวงสำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 จากผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบความสอดคล้องแล้วนำมาหาค่าความสอดคล้องตรงกับวัตถุประสงค์ คู่มือครูมีความสอดคล้องของการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้กับข้อมูลด้านความรู้มีค่าเฉลี่ยดัชนีความสอดคล้อง เท่ากับ 1 ความสอดคล้องของการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้กับข้อมูลด้านทักษะกระบวนการมีค่าเฉลี่ยดัชนีความสอดคล้อง เท่ากับ 0.868 ความสอดคล้องของการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้กับข้อมูลค้านเจตคติทางวิทยาศาสตร์มีค่าเฉลี่ยดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 0.868 ความสอดคล้องของการวิเคราะห์เนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร์กับภูมิปัญญาหลวงมีค่าเฉลี่ยดัชนีความสอดคล้อง เท่ากับ 1 ความสอดคล้องภายในหน่วยการจัดการเรียนรู้บูรณาการมีค่าเฉลี่ยดัชนีความ สอดคล้อง เท่ากับ 0.934 และความสอดค คล้องของแผนการจัดการเรียนรู้กับแนวการจัดทำแผนกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับหน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วยที่ใช้ภูมิปัญญาหลวงมีค่าเฉลี่ยดัชนีความสอดคล้อง เท่ากับ 1 จากการศึกษาพบว่าความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิที่มีต่อการสร้างคู่มือครูในการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์โดยใช้ภูมิปัญญาหลวงสำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 มีความสอดคล้องเหมาะสมสามารถนำไปใช้ได้
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5580
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Edu-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext_100949.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.07 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons