Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5591
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์th_TH
dc.contributor.authorจงจินต์ จันทรโก๊ะ, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-04-09T14:12:46Z-
dc.date.available2023-04-09T14:12:46Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5591en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ วิชาการออกแบบและเทคโนโลยี เรื่องการออกแบบผลิตภัณฑ์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอัมพวันวิทยาลัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 44 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ วิชาการออกแบบและเทคโนโลยี เรื่อง การออกแบบผลิตภัณฑ์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (2) แบบทดสอบก่อนและหลังเผชิญประสบการณ์ และ (3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ที่ผลิตขึ้นมีประสิทธิภาพ เท่ากับ 81.90/80.86 เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์มีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อคุณภาพของชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการออกแบบผลิตภัณฑ์--การศึกษาและการสอนth_TH
dc.subjectการเรียนรู้แบบประสบการณ์th_TH
dc.titleการพัฒนาชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์วิชาการออกแบบและเทคโนโลยีเรื่องการออกแบบผลิตภัณฑ์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of an experience-based instructional package on the topic of products design by computer program in the design and technology course for Mathayom Suksa V students of Schools under the Secondary Educational Service Area Office 10en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to develop an experience-based instructional package on the topic of Products Design by Computer Program in the Design and Technology Course for Mathayom Suksa V students of schools under the Secondary Education Service Area Office 10 based on the predetermined efficiency criterion; (2) to study the learning progress of students who learned from the experience-based instructional package; and (3) to study the satisfaction of students who learned from the experience-based instructional package. The research sample consisted of 44 Mathayom Suksa V students of Amphawan Wittayalai School during the second semester of the 2014 academic year, obtained by cluster sampling. The employed research instruments were (1) an experience-based instructional package on the topic of Products Design by Computer Program in the Design and Technology Course; (2) a learning achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaire on satisfaction of the students who learned from the experience-based instructional package. Statistics employed for data analysis were the E1/E2 efficiency index, mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the developed experience based instructional package was efficient at 81.90/80.86, thus meeting the 80/80 efficiency criterion; (2) the students who learned from the experience-based instructional package achieved learning progress significantly at the .05 level; and (3) the students were satisfied with quality of the experience-based instructional package at the high level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
146485.pdf29.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons