Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5595
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจันทรา เบ้านี, 2528--
dc.date.accessioned2023-04-09T14:41:38Z-
dc.date.available2023-04-09T14:41:38Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5595-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทเกมส์ วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ กำหนด (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทเกมส์ และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทเกมส์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวังพิกุลพิทยาคม จังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน 41 คน ได้มา โดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทเกมส์ เรื่องการเคลื่อนที่ (2) แบบทดสอบก่อนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียนแบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทเกมส์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทเกมส์ เรื่องการเคลื่อนที่มีประสิทธิภาพ 76.00/73.00 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 75/75 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทเกมส์ เรื่องการเคลื่อนที่ มีความก้าวหน้าทางการเรียน เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทเกมส์มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลกth_TH
dc.subjectเกมคอมพิวเตอร์th_TH
dc.subjectเกมทางการศึกษาth_TH
dc.subjectฟิสิกส์--คอมพิวเตอร์ช่วยการสอนth_TH
dc.subjectฟิสิกส์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--เพชรบูรณ์th_TH
dc.subjectฟิสิกส์--การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--ศึกษาศาสตร์th_TH
dc.titleการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทเกมส์วิชาฟิสิกส์เรื่องการเคลื่อนที่สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวังพิกุลพิทยาคม จังหวัดเพชรบูรณ์th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a game type computer assisted instuction program in physics on the topic of motion for Mathayom Suksa IV students of Wang Pikun Pittayakom School in Phetchabun Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop a game type computer assisted instruction program in physics on the topic of Motion based on the set efficiency criterion; (2) to study the learning progress of students who learned from the game type computer assisted instruction program; and (3) to study the students’ opinions toward the game type computer assisted instruction program. The research sample consisted of 41 Mahayom Suksa IV students of Wang Pikun Pittayakom School in Phechabun province, obtained by cluster sampling. The employed reseach instruments were (1) a game type computer assisted instruction program in physics on the topic of Motion; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaire on student’s opinions toward the game type computer assisted instruction progam. Statistics for data analysis were the Ej/E2 efficiency index, mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the developed game type computer assisted instruction program on the topic of Motion was efficient at 76.00/73.00, thus meeting the set 75/75 efficiency criterion; (2) the students who learned from the game type computer assisted instruction program on the topic of Motion achieved learning progress significantly at the .05 level; and (3) the students had opinions that the game type computer assisted instruction program was appropriate at the high level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
139954.pdf19.74 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons