Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5604
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจุติ สินทวี, 2525- ผู้แต่ง.th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-04-09T15:41:22Z-
dc.date.available2023-04-09T15:41:22Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5604-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนื้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้สื่อการสอนใน ห้องสมุด เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนในกลุ่ม สหวิทยาเขตป้อมปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนในกลุ่ม สหวิทยาเขตป้อมปราการ จังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 380 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับการใช้สื่อการสอนในห้องสมุดเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนในกลุ่มสหวิทยาเขตป้อมปราการ จังหวัดสมุทรปราการ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า การใช้สื่อการสอนในห้องสมุดเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาโรงเรียนในกลุ่มสหวิทยาเขตป้อมปราการ จังหวัดสมุทรปราการ โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายด้านทั้ง 6 ด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้านข้อ ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดในแต่ละด้าน ได้แก่ (1) สื่อการสอนเพื่อส่งเสริมการเรียนในห้องสมุด คือ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (2) เนื้อหาสาระในการที่นำเสนอผ่านสื่อการสอนเพื่อส่งเสริม การเรียนในห้องสมุด คือ ต้องเป็นเนื้อหาสาระที่มีความเหมาะสมกับนักเรียนเพื่อ ส่งเสริมกิจกรรมการเรียนการสอน (3) กิจกรรมการใช้สื่อการสอนเพื่อส่งเสริมการเรียนในห้องสมุด คือ กิจกรรมแต่งคำขวัญ (4) การใช้สื่อการสอนรายบุคคลเพื่อส่งเสริมการเรียนในห้องสมุด คือ สื่อการสอนสามารถตอบสนองต่อความแตกต่างด้านความสามารถในการอ่าน (5) ประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้สื่อการสอนเพื่อส่งเสริมการเรียนในห้องสมุด คือ มีความประทับใจและจดจำเนื้อหาได้นาน และ (6) ปัญหาและอุปสรรคการใช้สื่อการสอนเพื่อส่งเสริมการเรียนในห้องสมุด คือ นักเรียนใช้เครื่องมือในการสืบค้นข้อมูลไม่ถูกต้องและไม่เหมาะสมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.titleการใช้สื่อการสอนในห้องสมุดเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนในกลุ่มสหวิทยาเขตป้อมปราการ จังหวัดสมุทรปราการth_TH
dc.title.alternativeUsing the instructional media in the library to promote learning for junior high school student of Pom Prakan Consortium Samut Prakan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study the use of instructional media in the library to promote learning for junior high school students of Pom Prakan Consortium, Samut Prakan province. The research population comprised 380 junior high school students of Pom Prakan Consortium, Samut Prakan province. The employed research instrument was a questionnaire on the use of instructional media in the library to promote learning for junior high school students of Pom Prakan Consortium, Samut Prakan province. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings showed that the overall use of instructional media in the library to promote learning for junior high school students of Pom Prakan Consortium, Samut Prakan province was at the high level. When all of the six aspects of the use were considered, it was found that the use in eveiy aspect was at the high level, with the item receiving the highest rating mean in each aspect being as follows: (1) in the aspect of type of instructional media in the library to promote learning, the item of electronic media; (2) in the aspect of the contents presented via instructional media in the library to promote learning, the item of the contents having to be appropriate to the students in order to promote instructional activities; (3) in the aspect of activities of using instructional media in the library to promote learning, the item of slogan creating activity; (4) in the aspect of individualized instructional media in the library to promote learning, the item of the individualized instructional media being able to respond to individual difference in reading ability; (5) in the aspect of the benefits of using instructional media in the library to promote learning, the item of being impressed with the instructional media and being able to remember the learning contents for a long time; and (6) in the aspect of problems and obstacles in using instructional media in the library to promote learning, the item of the students using inappropriate and incorrect tools for retrieval of information.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156582.pdf2.51 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons