Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/560
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษา.th_TH
dc.contributor.authorศักดิ์กฤษณ์ ประสิทธ์ศุภการ, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-13T03:41:39Z-
dc.date.available2022-08-13T03:41:39Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/560-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การคงอยู่ในงาน ของพยาบาลวิชาชีพรุ่นอายุวาย (2) ปัจจัยการคงอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพรุ่นอายุวาย และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการคงอยู่ในงานกับการคงอยู่ในงาน ของพยาบาลวิชาชีพรุ่นอายุวาย กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา เป็นพยาบาลวิชาชีพรุ่นอายุวายที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล มหาราชนครราชสีมา และมีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป จำนวน 261 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่าง อย่างมีระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 2 ประเภท ได้แก่ 1) แบบสอบถามการคงอยู่ในงาน ของพยาบาลวิชาชีพมี 3 ตอน ได้แก่ (1) ข้อมูลส่วนบุคคล (2) การคงอยู่ในงาน และ (3) ปัจจัยการคงอยู่ในงานและ 2) แบบสัมภาษณ์ที่ใช้ในการสนทนา กลุ่มเครื่องมือวิจัยได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและความเที่ยงโดยเครื่องมือวิจัยประเภทแรกตอนที่ 2 และตอนที่ 3 ได้ค่าความเที่ยง เท่ากับ 0.76 และ 0.97 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) การคงอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพรุ่นอายุวาย โดยรวมอยู่ใน ระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 3.49) 2) ปัจจัยการคงอยูในงานของพยาบาลวิชาชีพรุ่นอายุวายโดยรวม และรายด้านอยู่ในระดับมาก และ 3) ปัจจัยการคงอยู่ในงานด้านคุณลักษณะของนายจ้าง สัมพันธภาพ ระหว่างผู้ปฏิบัติงาน รางวัล และการออกแบบงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับการคงอยู่ในงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (r = 0.526, 0.502, 0.465 และ 0.458) ยกเว้น โอกาสความก้าวหน้าของอาชีพมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับต่ำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (r = 0.359)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.32-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาล--อัตรากำลังth_TH
dc.subjectพยาบาล--ความพอใจในการทำงาน.--ไทยth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการคงอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพรุ่นอายุวาย โรงพยาบาลศูนย์แห่งหนึ่ง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือth_TH
dc.title.alternativeFactors relating to job retention of Generation Y Professional Nurses at a Regional Hospital, Northeastern Regionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2015.32-
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were: (1) to investigate job retention of generation Y professional nurses at a regional hospital, (2) to study factors relating to job retention of the professional nurses, and (3) to explore relationships between factors relating to their job retention and job retention. The sample comprised 261 generation Y professional nurses who worked at the regional hospital for at least five years. They were selected by the systematic random sampling method. Research tools consisted of 2 categories:1) a professional nurses’ job retention questionnaire which was divided into 3 parts including (1) personal data, (2) job retention, and (3) factors relating to job retention; and 2) an interview questionnaire for focus group discussion. Both tools were tested for content validity and reliability. The reliabilities of the second and the third parts of the first tool were 0.76 and 0.97 respectively. Research data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson product-moment correlation coefficient, and content analysis. The results illustrated as follows. 1) The professional nurses totally rated their job retention at the moderate level ( M = 3.49) . 2) Total and subscales of factors relating to their job retention were both rated at the high level. Finally, 3) the factors relating to their job retention including characteristics of the employer, employee relationships, reward, and job design had significantly positive relationship with job retention at the moderate level (r = 0.526, 0.502, 0.465, and 0.458); excepting career opportunities had significantly positive relationship at the low level (r = 0.359)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext 151553.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.97 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons