Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/564
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทัศนา หาญพล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพวา พันธุ์เมฆา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธนรัชฏ์ ศิริสวัสดิ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกชกร จินตนสถิตย์, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-13T04:04:17Z-
dc.date.available2022-08-13T04:04:17Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/564-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบคุณธรรมด้านการเสียสละที่ได้จากการอ่าน วรรณกรรมสำหรับเด็กของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลบุรีรัมย์ ก่อนและหลังการทดลองของกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองที่ 1 และกลุ่มทดลองที่ 2 (2) เพื่อเปรียบเทียบคุณธรรมด้านการเสียสละที่ได้จากการอ่านวรรณกรรณสำหรับเด็กของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลบุรีรัมย์หลังการทดลองของกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองที่ 1 และกลุ่มทดลองที่ 2 (3) เปรียบเทียบคุณธรรมด้านการเสียสละที่ได้จากการอ่านวรรณกรรมสำหรับเด็กของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลบุรีรัมย์หลังการทดลอง ของกลุ่มทดลองที่ 1 จำแนกตามเพศและระดับผลการเรียน (4) เพื่อเปรียบเทียบคุณธรรมด้านการเสียสละที่ได้จากการอ่านวรรฌกรรมสำหรับเด็กของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอบุบาลบุรีรัมย์หลังการทดลอง ของกลุ่มทดลองที่ 2 จำแนกตามเพศและระดับผลการเรียนการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนอนุบาลบุรีรัมย์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2550 จำนวน 137 คน จาก 3 ห้องเรียน แบ่งนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 เป็น กลุ่มควบคุมไม่ได้ให้อ่านวรรณกรรมสำหรับเด็กที่มีเนื้อหาส่งเสริมคุณธรรมด้านการเสียสละ กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มทดลองที่ 1 ให์อ่านวรรณกรรมสำหรับเด็กที่มีเนื้อหาส่งเสริมคุณธรรมด้านการเสียสละด้วยตนเอง กลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มทดลองที่ 2 ให้อ่านวรรณกรรมสำหรับเด็กที่มีเนื้อหาส่งเสริมคุณธรรมด้านการเสียสละโดยมีบรรณารักษ์แนะนำการอ่าน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองได้แก่ (1) วรรณกรรมสำหรับเด็กที่ส่งเสริมคุณธรรมด้านการเสียสละที่ จัคพิมพ์ระหว่างปี 2543-2549 จำนวน 30 ชื่อเรื่อง (2) แบบทดสอบเพื่อประเมินคุณธรรมด้านการเสียสละ (3) แบบติดตามผล หลังการอ่าน สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย คำเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทคสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวน ทางเสียง การเปรียบเทียบความแตกต่างรายคู่ด้วยเทคนิคเชฟเฟ ผลการวิจัยพบว่า (1) คุณธรรมด้านการเสียสละหลังการทดลองของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ 1 และกลุ่มทดลองที่ 2 สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคลัองกับสมมุติฐานที่ตั้งไว้ (2) นักเรียนทั้ง 3 กลุ่มมีคุณธรรมด้านการเสียสละหลังการทดลองแตกต่างกันอย่างมีนัยส่าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอคคลัองกับสมมุติฐานที่ตั้งไว้ เมื่อพิจารณาเป็นรายคู่พบว่า นักเรียนกลุ่มทดลองที่ 2 มีคะแนนคุณธรรมด้านการเสียสละหลังการทคลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองที่ 1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนนักเรียนกลุ่มทดลองที่ 1 และนักเรียนกลุ่มควบคุมมีคะแนนคุณธรรมด้านการเสียสละหลังการทดลองไม่แตกต่างกัน (3) คุณธรรมด้านการเสียสละหลังการทดลองของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงทั้งในกลุ่มทดลองที่ 1 และกลุ่มทดลองที่ 2 ไม่แตกต่างกันซึ่งไม่สอคคลัองกันสมมุดิฐานที่ตั้งไว้ (4) คุณธรรมด้านการเสียสละหลังการทดลองของนักเรียนที่มีผลการเรียนแตกต่างกันทั้งในกลุ่ม ทดลองที่ 1 และกลุ่มทดลองที่ 2 ไม่แตกต่างกัน ซึ่งไม่สอคคล้องกับสมมุติฐานที่ตั้งไว้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.92-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเด็ก--หนังสือและการอ่านth_TH
dc.subjectวรรณกรรมสำหรับเด็กth_TH
dc.subjectการพัฒนาจริยธรรมth_TH
dc.titleการพัฒนาคุณธรรมด้านการเสียสละที่ได้จากการอ่านวรรณกรรมสำหรับเด็ก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลบุรีรัมย์th_TH
dc.title.alternativeSacrifice virtue development by reading children's literature of Pratomsuksa six students of Anuban Buriram Schoolth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.92-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) compare the sacrifice virtue of Prathomsuksa Six students of Anuban Bunram School before and after reading children’s literature in control group, first experimental group, and second experimental group; (2) compare the sacrifice virtue of Prathomsuksa Six students after reading children’s literature in control group, first experimental group, and second experimental group; (3) compare the sacrifice virtue of Prathomsuksa Six students after reading children ร literature of the first experimental group classified by sex and Grade Point Average (GPA); (4) compare the sacrifice virtue of Prathomsuksa Six students after reading children’s literature of the second experimental group classified by sex and Grade Point Average (GPA). This was an experimental research. The samples were 137 Prathomsuksa Six students of Anuban Buriram School from 3 classes. The samples were divided into three groups. The first group was set as a control group in which students did not read children’s literature. Two other groups were set as experimental groups. The first experimental group was assigned to read children’s literature promoting sacrifice by themselves. The second experimental group was assigned to read children’s literature under the librarian’s supervision. The research tools used in this experiment were (1) 30 titles of children’s literature promoting sacrifice published during the year 2000-2006; (2) the sacrifice virtue evaluated tests; and (3) a reading record to follow up the reading of students. Statistics used for data analysis were means, standard deviation, t-test, ANOVA and method-The research findings were as follows: (1) Posttest sacrifice virtue scores of both experimental groups were higher than pretest significantly at .05 level which confirmed the hypothesis; (2) Posttest sacrifice virtue scores compared among three groups were significantly different at .05 level which confirmed the hypothesis. When considered by pairwise differences, the second experimental group which was assigned to read children’s literature under the librarian’s supervision had the highest posttest sacrifice virtue scores. The scores were significantly different at .05 level. Posttest sacrifice virtue scores of the control group and the first experimental group were not different; (3) Posttest sacrifice virtue scores of boys and girls in both experimental groups were not different which rejected the hypothesis; (4) Posttest sacrifice virtue scores of the students with different GPA in both experimental groups were not different which rejected the hypothesisen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (2).pdfเอกสารฉบับเต็ม5.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons