Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5684
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงศ์พันธุ์ เธียรหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.contributor.authorกัลยาณี สมงาม, 2521--
dc.date.accessioned2023-05-01T02:05:20Z-
dc.date.available2023-05-01T02:05:20Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5684-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา (1) สภาพสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกรผู้ปลูกลำไย ตำบลนํ้าแวน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา (2) การจัดการสวนลำไย (3) การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา ในสวนลำไย (4) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาของเกษตรกร ผลการวิจัยพบว่า (1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 48.48 ปี จบการศึกษาชั้นประถมศึกษามากที่สุด มีสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 3.61 คน มีแรงงานเกษตรในครัวเรือนเฉลี่ย 2.52 คน พื้นที่ปลูกลำไยเฉลี่ย 4.31 ไร่ มีรายได้เฉลี่ยต่อปีต่อครัวเรือน 200,195.27 บาท เกษตรกรมากกว่าครึ่งเป็นสมาชิกธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (2) เกษตรกรส่วนใหญ่ตัดแต่งกิ่งลำไย ใช้ปุ๋ยเคมี และสารเคมีในการป้องกันกําจัดโรคแมลงในสวนลำไย ระบบชลประทานไม่ครอบคลุมพื้นที่ปลูกลำไยทั้งหมด (3) เกษตรกรเกือบทั้งหมดใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในสวนลำไยปีละ 1 ครั้ง โดยใช้ช่วงที่ลำไยติดผลมากที่สุด เกษตรกรมีความรู้ด้านการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาอยู่ในระดับมาก (4) ปัญหาที่เกษตรกรส่วนใหญ่พบระดับมากคือ ด้านปัจจัยการผลิต ด้านการจัดการ และปัญหาด้านการส่งเสริมการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา ข้อเสนอแนะคือ ต้องการให้หน่วยงานภาครัฐสนับสนุนเชื้อราไตรโคเดอร์มาและอบรมให้ความรู้เกษตรกรอย่างต่อเนื่อง ด้านการจัดการคือ ภาครัฐให้ความรู้ด้านการลดต้นทุนการผลิต การรวมกลุ่มเพื่อสร้างเครือข่ายการผลิตและการตลาด การผลิตลำไยนอกฤดูเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาผลผลิตลำไยล้นตลาด เทคโนโลยี การตัดแต่งกิ่งลำไย ทำให้กลุ่มเกษตรกรผลิตลำไยที่มีคุณภาพมากยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.85-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectยากำจัดศัตรูพืชth_TH
dc.subjectเชื้อราไตรโคเดอร์มา--การใช้ประโยชน์th_TH
dc.subjectลำไย--โรคและศัตรูพืช--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectสารชีวภาพควบคุมศัตรูพืชth_TH
dc.titleการจัดการสวนลำไยและการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาของเกษตรกรตำบลน้ำแวน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยาth_TH
dc.title.alternativeLongan orchard management and trichoderma by farmers in Nam Waen Sub-district, Chiang Kham District, Phayao Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2015.85-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
150218.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.94 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons