Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5708
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชินรัตน์ สมสืบth_TH
dc.contributor.authorสุเทพ มงคลปทุมรัตน์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-01T04:27:50Z-
dc.date.available2023-05-01T04:27:50Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5708en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความพึงพอใจของลูกค้าในการให้บริการของที่ทำการไปรษณีย์ในสังกัดสำนักงานไปรษณีย์เขต 6 นครสวรรค์ (2) ศึกษาเปรียบเทียบความพึงพอใจของถูกค้าต่อการให้บริการโดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ศึกษาปัญหาและแนวทางการให้บริการของที่ทำการไปรษณีย์ในสังกัดสำนักงานไปรษณีย์เขต 6 นครสวรรค์ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคือ ผู้มาใช้บริการ ณ ที่ทำการไปรษณีย์จำนวน 105 ที่ทำการ จำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีแบบบังเอิญ วิเคราะห้ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที และการทดสอบเอฟ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับความพึงพอใจในการให้บริการของที่ทำการไปรษณีย์ในสังกัดสำนักงานไปรษณีย์เขต 6 นครสวรรค์ในภาพรวม 4 ด้าน ได้แก่ ด้านกระบวนการให้บริการ ด้านเจัาหนัาที่ผู้ให้บริการ ด้านการจัดสถานที่ให้บริการ และด้านการประชาสัมพันธ์ อยู่ในระดับมาก (2) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของถูกค้าผู้ใช้บริการที่มี เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา รายได้ความถี่ในการใช้บริการ สถานที่ที่มารับบริการมีความพึงพอใจในภาพรวมไม่แตกต่างกัน ส่วนผู้ใช้บริการที่มีอาชีพแตกต่างกันมีความพึงพอใจในภาพรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) สำหรับปัญหาที่ผู้ใช้บริการต้องการให้แกัไขส่วนใหญ่เป็นปัญหาช่องบริการรับฝากมีนัอย การให้บริการล่าช้า มีการประชาสัมพันธ์นัอย สถานที่บริการอากาศร้อน สถานที่คับแคบโดยเสนอแนะควรเพิ่มช่องให้บริการให้มากขึ้นกว่าเดิม เพิ่มเจัาหนัาที่รับฝาก สำหรับบริการใหม่ขอให้มีการประชาสัมพันธ์ทางทีวี ควรติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ควรขยายอาคารให้กว้างกว่าเดิมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.393en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักงานไปรษณีย์เขต 6 นครสวรรค์--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.titleความพึงพอใจของลูกค้าในการให้บริการของที่ทำการไปรษณีย์ในสังกัดสำนักงานไปรษณีย์เขต 6 นครสวรรค์th_TH
dc.title.alternativeCustomer satisfaction in service of the Regional Postal Bureau (Region 6) Nakhon Sawanen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.393-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.393en_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to (1) study the satisfaction of post office customers in postal services at the Regional Postal Bureau (Region 6) Nakhon Sawan; (2) compare the satisfaction of post office customers based on personal factors; (3) study the service problems and the appropriate solution approaches for the Regional Postal Bureau (Region 6) Nakhon Sawan. Samples comprised of 400 customers who received the services from 105 postal offices in Region 6. Instrument used was questionnaires. Data was collected incidentally and was analyzed using frequency, percentage, mean standard deviation, t-test and F-test as statistical tools. The results showed that: (1) the overall customer satisfaction was high in all 4 services included processes of service system, postal service personnel, management of service area, and public relation system of Regional Postal Bureau (Region 6) Nakhon Sawan; (2) when compared satisfaction of customers. It was found that customers with different sex, ages, marital status, educational level, income, frequency of services received, had no significant differences in their satisfaction on services; as for customers with different occupations, difference in satisfaction was found at .05 level of significance; (3) major problems customers needed to see them solved were inadequate service counters, slow services, less public relations, too warm and too narrow service areas; customers' suggestions were: more service counters and service staff should be provided, new services should be communicated via television screen, air condition should be installed, and building facilities should be expanded.en_US
dc.contributor.coadvisorเสน่ห์ จุ้ยโตth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108613.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.58 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons