Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/571
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนฤมล ตันธสุรเศรษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมประสงค์ วิทยเกียรติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorทองปลิว ชมชื่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิรัฐ อนุเชิงชัย, 2504--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-13T04:40:55Z-
dc.date.available2022-08-13T04:40:55Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/571-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การศึกษานอกระบบ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยของพระสงฆ์ (2) เปรียบเทียบการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยของพระสงฆ์ จําแนกตามตําแหน่ง อายุ พรรษา วุฒิทางโลกและ วุฒิทางพุทธศาสนา (3) ศึกษาปัญหาอุปสรรค และแนวทางการส่งเสริมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยของพระสงฆ์ที่จัดให้กับประชาชนในชุมชน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้จากการสุ่มอย่าางง่าย ประกอบด้วย พระสังฆาธิการระดับวัด 125 รูป และพระสงฆ์ลูกวัด 300 รูป เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ตอนที่1 เป็นแบบตรวจสอบรายการ ตอนที่ 2 เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่าและตอนที่ 3 เป็นแบบคําถามปลายเปิด คุณภาพเครื่องมือตามวิธีของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยง ตอนที่ 2 เท่ากับ 0.9457 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที ทดสอบค่าเอฟ และทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยรายคาด้วยวิธีของเชฟเฟ ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยของพระสงฆ์ โดยเฉลี่ยทุกกิจกรรมอยู่ใน ระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า พระสงฆ์จัดกิจกรรมด้านอนุรักษ์ฟื้นฟูวัฒนธรรมและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นอันดับแรก (2) การเปรียบเทียบการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยของพระสงฆ์ จําแนกตามตําแหน่งกลุ่มพระสังฆาธิการ จัดการศึกษาตามอัธยาศัยได้มากกว่ากลุ่มพระสงฆ์ลูกวัด แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยเฉพาะด้านกิจกรรมพัฒนาชุมชนและสังคม กิจกรรมอนุรักษ์ฟื้นฟูวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น จําแนกตามอายุ จัดการศึกษาตามอัธยาศัยได้แตกต่างกันอยาางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยกลุ่มอายุ 40 – 59 ปี มีการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยมากที่สุด จําแนกตามพรรษา จัดการศึกษาตามอัธยาศัยได้แตกต่างกันอยาางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยกลุ่มพรรษา 41 - 60 พรรษา มีการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยมากที่สุด จําแนกตามวุฒิการศึกษาทางโลก และวุฒิทางพุทธศาสนา จัดการศึกษาตามอัธยาศัยได้ไม่แตกต่างกัน (3) ปัญหาและอุปสรรค ของการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยของพระสงฆ์ที่จัดให้ประชาชนในชุมชน ได้แก่ สภาพเศรษฐกิจของชุมชนไม่เอื้ออํานวยต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต กิจกรรมอนุรักษฟื้นฟูทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่ตั้งวัดประชาชนไม่ให้ความร่วมมือ ส่วนแนวทางการส่งเสริมการจัดการ ศึกษาตามอัธยาศัยของพระสงฆ ได้แก่ (1) ให้อุบาสก อุบาสิกา เป็นเครือข่ายในการอบรมพัฒนาจิตใจบุตรหลาน (2) ใช้วัดเป็นศูนย์รวมนํ้าใจในการจัดงานต่าง ๆth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.80-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการศึกษานอกระบบ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการศึกษาตามอัธยาศัยth_TH
dc.subjectสงฆ์กับการพัฒนาชุมชน.th_TH
dc.titleการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยของพระสงฆ์ในจังหวัดนครปฐมth_TH
dc.title.alternativeThe provision of informal education by the monks in Nakhon Pathom provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.80-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the provision of informal education by the monks, (2) to compare the provision of informal education by the monks, classified as position, age , year of ordination, educational and thamma levels and (3) to study the problems, obstacles and supporting guideline for provision of informal education by the monks. The sample consisted of 125 abbots and 300 monks randomly selected. The instrument was the three-parts questionnaires 1) check - list, 2) rating scale, and 3) opened – ended questions. The reliability of part 2 was 0.9457. Statistical analyses used were frequency, percentage, mean , standard deviation, t – test, F – test and Scheffe multiple comparison . The research finding were : (1) the average of the provision of all informal education activities by the monks were at a moderate level. When considered each aspect separately, the monks provide the conservation and restoration of the culture and local wisdom activities rank the first, (2) in comparison of the provision of informal education by the monks, classified as position, the abbots provided significantly higher than the monks at .01 level, especially the development of the community and social activities, the conservation and restoration of culture and local wisdom activities; classified as age was significantly different at .01 level, with age 40 – 59 provided the most; classified as year of ordination was significantly different at .01 level, with 41 – 60 year of ordination provided the most; classified as educational and thamma levels; were not significantly different, (3) the problems and obstacle of the provision of informal education by the monks for people in the community were, economic condition of the community did not help to develop the quality of life and people did not cooperate to conserve natural resources and environment in the community where the temple located. The supporting guideline for the provision of informal education by the monks were 1) to form the network of churchman and churchwomen to help in the matter of moral development for children and 2) to use temple as the community center for community activitiesen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
82243.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.51 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons