Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/573
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | โกวิน วัฒนพงศ์พันธ์ | th_TH |
dc.contributor.author | กรวิกา วีระพานิช, 2500- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-13T06:00:01Z | - |
dc.date.available | 2022-08-13T06:00:01Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/573 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลเมโย ในปัจจัยด้านคุณภาพบริการ ปัจจัยด้านการเข้าถึงบริการ และปัจจัยด้านผู้ให้บริการ (2) ศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคลของผู้รับบริการ ปัจจัยด้านคุณภาพบริการ ปัจจัยด้านการเข้าถึงบริการ และปัจจัยด้านผู้ให้บริการกับความพึงพอใจของผู้รับบริการ (3) ศึกษาปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะในการมารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลเมโย รูปแบบของการวิจัยเป็นแบบสำรวจเชิงพรรณนา ตัวอย่างคือผู้รับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลเมโย จำนวน 400 คน ซึ่งเข้ามารับบริการระหว่างวันที่ 1-7 มีนาคม 2549 การคัดเลือกตัวอย่างโดยการสุ่มอย่างง่าย การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามที่มีค่าความเที่ยง 0.973 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบหาค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ ของแคนดัลล์และสเปียร์แมนการทดสอบที โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจากคอมพิวเตอร์ ผลการวิจัยพบว่า ตัวอย่างส่วนใหญ่ของผู้รับบริการเป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 25-34 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพรับจ้าง รายได้ต่อเดือนของครอบครัวประมาณ 10,000-20,000 บาท มีมูลเหตุจูงใจในการมารับบริการ คือ อยู่ใกล้บ้านหรือที่ทำงาน รับรู้ความเจ็บป่วยในระดับปานกลาง (1) ความพึงพอใจของผู้รับบริการอยู่ในระดับมาก โดยเฉพาะปัจจัยด้านผู้ให้บริการมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจมากที่สุด รองลงมามีระดับความพึงพอใจใกล้เคียงกัน คือ ปัจจัยด้านคุณภาพบริการ และปัจจัยด้านการเข้าถึงบริการ (2) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริการ ปัจจัยด้านคุณภาพบริการ ปัจจัยด้านการเข้าถึงบริการ และปัจจัยด้านผู้ให้บริการ มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจของผู้รับบริการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ « = 0-05 (3) ปัญหาและอุปสรรค พบว่า เป็นความไม่พึงพอใจเกี่ยวกับระยะเวลาการรอรับบริการ ระบบการนัดหมาย และด้านพฤติกรรมบริการของเจ้าหน้าที่ ข้อเสนอแนะจากการวิจัย การปรับปรุงการให้บริการของแผนกผู้ป่วยนอก ควรมีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะโรคทุกสาขา ควรมีการปรับปรุงพฤติกรรมบริการให้มีความเป็นกันเอง ควรมีเครื่องมือทางการแพทย์และเทคโนโลยีที่ทันสมัย และควรมีที่จอดรถให้เพียงพอ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลเมโย--ความพอใจของผู้ใช้บริการ | th_TH |
dc.subject | ผู้ป่วยนอก | th_TH |
dc.subject | บริการการพยาบาล | th_TH |
dc.title | ความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการบริการแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเมโย | th_TH |
dc.title.alternative | Patient satisfaction to Health Care Services of Mayo Hospital's Outpatient Department | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were: (1) to assess the level of patient satisfaction of Mayo Hospital’s outpatient department(OPD) concerning quality of service factors, service accessibility factors, and service provider factors;(2) to study relationships between service provider’s personal factors, quality of service factors, service accessibility factors, service provider factors and patient satisfaction (3) to study problem, obstacles and suggestions concerning health care service of Mayo Hospital’s OPD. The study design was descriptive survey research. Study samples were 400 out-patients of Mayo hospital, who were selected by means of simple random sampling . during March 1-7, 2006. Data were collected by using questionnaire with reliability coefficient of 0.973. Computer statistical program was used to calculate percentage, mean, standard deviation. In addition, Kendall’s tau-b, Spearman, t-test and content analysis were used. the result of this study showed that the majority of respondents were female, aged 25-34 years old; had bachelor degree educational background, who indicated highest service were employee with had been general worker with income ranging 10.000- 20.000 Bath per month, motivated for service use as being close to home or workplace; perceived moderate level of illness; Favored the convenient location, perceptual of sick was at a moderate level. (1) the patient satisfaction was at high level particularly to service provider factors which indicated highest level of patient satisfaction, followed by the satisfaction concerning quality of service and accessibility to service; and some personal reasons contributed to satisfaction of the recipients. Service personal was fond to be leading among the satisfaction factors. The second and third came in relative by close were quality factors. (2) the factors related to patients satisfaction were quality of service factors, accessibility factors and service provider factors showed statistical significance difference at a = 0.05; (3) most of problem and obstacles suggestion were about dissatisfaction with waiting time for service, appointment system, and personnel service behavior modern technology and relationships. Recommendations for service improvement in the OPD were that there should have more specialist doctors, modern medical equipment and technology, and sufficient area of car parking | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สุรเดช ประดิษฐบาทุกา | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License