Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/574
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัลย์ หอนพรัตน์th_TH
dc.contributor.authorมาตรา รัตนสกาววงศ์, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-13T06:03:01Z-
dc.date.available2022-08-13T06:03:01Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/574en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายมหาชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องสัญญาทางปกครองระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : ศึกษาแนวทางการทําสัญญาทางปกครองตามประกาศคณะกรรมการการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและสัญญาทางปกครองระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการร่วมกันจัดทําบริการสาธารณะ และหลักกฎหมายในการทําสัญญาทางปกครอง ตามกฎหมายต่างประเทศ ศึกษาหลักเกณฑ์ในการทําสัญญาทางปกครองของประเทศไทยและแนวทางการทํา สัญญาทางปกครองตามประกาศคณะกรรมการ การกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมไปถึง การศึกษาปัญหาและหาแนวทางการทําสัญญาทางปกครองระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การยุติข้อพิพาท อันเกิดจากสัญญาทางปกครองระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การศึกษาในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยเอกสารจากการเก็บรวบรวมข้อมูล กฎหมาย และเอกสารทางวิชาการต่างๆ เพื่อแนวทางการทําสัญญาทางปกครองระหว่างองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ผลการศึกษาพบว่าการบันทึกข้อตกลงระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการร่วมกันจัดทํา บริการสาธารณะมีลักษณะเป็นสัญญาความร่วมมือทางปกครอง co-ordinate administrative contract กรณีของ ประเทศไทยได้มีประกาศคณะกรรมการการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เรื่องการทําความตกลงร่วมมือกันจัดทําบริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นวางหลักเกณฑ์ไว้แต่ เนื่องจากได้ใช้บังคับ มาเป็นระยะเวลาสั้นๆ จึงยังมีความไม่สมบูรณ์ในด้านข้อกฎหมายรวมสามประเด็น ได้แก่ (1) การกำหนดความเป็นธรรมระหวางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคู่สัญญา (2) การถอนตัวจากบันทึกข้อตกลงความร่วมมือไปจนถึง การยุติบันทึกข้อตกลงความร่วมมือก่อนกำหนดระยะเวลาที่ได้ตกลงกันเอาไว้ (3) การยุติข้อพิพาทระหว่าง คู่สัญญาและข้อพิพาทกับบุคคลภายนอกข้อเสนอแนะคือ (1) ในการทําบันทึกข้อตกลงความร่วมมือควรคํานึงถึง ประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับมากกว่าความเป็นธรรมระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คู่สัญญา (2) ควรแกไข้ เนื้อหาของประกาศในเรื่องของการสิ้นสุดของบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (3) ควรกำหนดกระบวนการชี้ขาดข้อพิพาทกรณีที่ให้ชัดเจนและเหมาะสม ได้แก่ กรณีข้อพิพาทระหวางคู่สัญญา และข้อพิพาทกับบุคคลภายนอกth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นth_TH
dc.subjectสัญญาทางปกครอง.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นth_TH
dc.subjectองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นth_TH
dc.titleสัญญาทางปกครองระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : ศึกษาแนวทางการทำสัญญาทางปกครองตามประกาศคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นth_TH
dc.title.alternativeAdministrative contracts between local governments : a case study on guildlines for administrative contracts under the notification of the decentralization to the local government organization committeeth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe study of Local Administrative Contract: A Case Study on Guildlines for Administrative Contract under the Notification of the Decentralization to the Local Government Organization Committee aimed to study the theory about local administrative and local administrative contract in terms of public services management, principle of law about administrative contract in foreign countries, Thai general principles for administrative contract arrangement and guildlines for administrative contract arrangement under the notification of the Decentralization to the Local Government Organization Committee, and finally to find the proper guildlines for local administrative contract arrangement and dispute resolution The qualitative approach is analyzed for this study with methodology of documentary research by collecting data from legislation , journals ,and other documents for studying the administrative contracts under the notification of the Decentralization to the Local Government Organization Committee The result of the study found that Thai local administrative contract in terms of public services management in form of co-ordinate administrative contracts are conducted under the notification of the Decentralization to the Local Government Organization Committee. Because this notification has recently been enforced, so it is incomplete in three issues; fair benefits among contract parties, early contract withdrawal and termination, and disputes resolution between contract parties or third parties. The result of this study suggests that the administrative contract arrangement should concern about public benefits more than benefits among contract parties, contents regarding contract termination should be revised, process on dispute resolution should be revised and clarified such as disputes between contract parties or disputes between third partiesen_US
dc.contributor.coadvisorธวัชชัย สุวรรณพานิชth_TH
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib153694.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.59 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons