Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5789
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินาฏ ลีดส์th_TH
dc.contributor.authorเกษมสันต์ อัมพันธ์, 2498-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-05-03T02:40:02Z-
dc.date.available2023-05-03T02:40:02Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5789en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่อง การใช้มาตรการเพื่อแก้ไขบำบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่ กระทำผิดคดีอาญา มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญาที่เกี่ยวข้องกับการใช้มาตรการในการบำบัดแก้ไขฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิดอาญา 2) เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคของการใช้มาตรการในการบำบัดแก้ไขฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิดคดีอาญา และเข้าใจถึงแนวทางและวิธีการใช้มาตรการในการบำบัดแก้ไขฟื้นฟูเด็ก และเยาวชนที่กระทำผิดคดีอาญา 3) เพื่อศึกษากฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการใช้มาตรการในการบำบัดแก้ไขฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิดคดีอาญา 4) เพื่อหาแนวทางแก้ไขมาตรการแก้ไขบำบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิดอาญา การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเอกสาร ด้วยการรวบรวม ข้อมูลจากหนังสือ ตำรา ตัวบทกฎหมาย วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย เอกสารประกอบการเรียนการ สอน รวมตลอดถึงข้อมูลบนสารสนเทศ อินเทอร์เน็ต ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผลการศึกษาพบว่าการใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญามีปัญหาเรื่องในประเด็น การให้ความยินยอม ดังนั้นจากการศึกษาจึงเห็นควรให้มีการแก้ไขกฎหมายในกรณีผู้เสียหายเป็น บุคคล หากสามารถติดตามมาให้ความยินยอมได้ก็ให้ผู้เสียหายให้ความยินยอม แต่หากไม่สามารถ ติดตามได้ก็ให้พนักงานอัยการให้ความยินยอมแทน ปัญหาการบำบัดแก้ไขฟื้นฟูเด็กและเยาวชนใน ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนซึ่งขาดแคลนบุคลากร เห็นควรว่าให้นำกระบวนการยุติธรรมเชิง สมานฉันท์มาใช้เพื่อให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการบำบัดแกไขฟื้นฟู และควรมีการบัญญัติ กฎหมายให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขบำบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชนด้วย เด็กหรือเยาวชนที่ผ่านการฝึกอบรมที่เตรียมความพร้อมครบกำหนดระยะเวลา ควรกำหนดเงื่อนไขคุมความประพฤติไว้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการฟื้นฟูสภาพจิตใจth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleการใช้มาตรการเพื่อแก้ไขบำบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิดคดีอาญาth_TH
dc.title.alternativeMeasures to remedy juvenile as the Criminal Offendersen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of Independent study on the Measures to Remedy Juvenile as the Criminal Offenders is to 1) study the concept theories related to the criminal justice process associated with take for the treatment rehabilitate the juvenile offending 2) analyze the problems of incorporating in therapy rehabilitate juvenile offending and insight the guidelines and methods to take for treatment the juvenile offending 3) study international law related to the measures corrected reconstruction the juvenile offending. 4) find solutions the remedial measures with rehabilitation the juvenile offending. This independent study was qualitative research by researching documents and gathering information from the textbooks, legislation thesis research report. documentation of instruction and includes of Information on the Internet either in Thai and English. The study has found that guidelines in order to resolve the rehabilitation of juvenile by taking an extra measure instead of the criminal proceedings use should an amendment to the law to Section 86, first paragraph the obtain the consent of the victims for rehabilitation of youth in juvenile training center, which has a shortage of staff. Restorative Justice should be used so that families and communities to participate in rehabilitation therapy should be the law designated communities to participate in the rehabilitation of the juvenile who trained to prepare to keep before release due should be on probation.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_147203.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.54 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons