กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/579
ชื่อเรื่อง: | นัยทางการเมืองของอนุสาวรีย์ปราบฮ่อ |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | The political significance of Braab Ho Monument |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | ธโสธร ตู้ทองคำ พิกุล อัปการัตน์, 2516- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา ร่งพงษ์ ชัยนาม |
คำสำคัญ: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ อนุสาวรีย์ปราบฮ่อ ไทย -- การเมืองและการปกครอง |
วันที่เผยแพร่: | 2552 |
สำนักพิมพ์: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
บทคัดย่อ: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหานัยทางการเมืองของอนุสาวรีย์ปราบฮ่อ ผลการศึกษาพบว่า นัยทางการเมืองของอนุสาวรีย์ปราบฮ่อที่สื่อผ่านตัวอนุสาวรีย์ปราบฮ่อองค์เดิมเป็นเครื่องมือในการสร้างรัฐชาติในระบอบสมมูรณาญาสิทธิราชย์โดยสร้างความ เป็นพื้นที่อันศักดิสิทธิ เพื่อแสดงถึงอำนาจอันชอบธรรมของผู้ปกครองที่มีต่อผู้ใต้ปกครองและหล่อหลอมชนชนใต้ปกครองให้มีความจงรักภักดีต่อชาติต่อพระมหากษัตริย์ ทั้งยังสื่อนัยความเป็นสยามประเทศที่ปฏิเสธลัทธิล่าอาณานิคมของชาติมหาอำนาจและสร้างให้สยามประเทศมีความทัดเทียมยับนานาประเทศ ส่วนนัยทางการเมืองสื่อผ่านอนุสาวรีย์ปราบฮ่อองค์ใหม่ใต้ถูกผลิตซ้ำ ความเป็นชาตินิยมสู่ความเป็นสมัยใหม่และกดทับความหลากหลายทางเชื้อชาติของประชาชนในจังหวัดหนองคาย ให้ระลึกถึงความเป็นชาติใทยเพียงชาติเดียว พร้อมแสดงอำนาจอันชอบธรรมของรัฐที่ใช้ปกครองผู้ใต้ปกครองมิให้แข็งขืนต่อรัฐ ผ่านสัญลักษณ์ครุฑและพิธีกรรมต่างๆ ส่วนการใช้พื้นที่ของอนุสาวรีย์ปราบฮ่อองค์ใหม่นี้จากพื้นที่อันศักดิ์สิทธิเดิมได้กลายเป็นพื้นที่สาธารณะมาก ขึ้นจนผันแปรเป็นพื้นที่เศรษฐกิจผ่านการท่องเที่ยวเอกลักษณ์ประจำจังหวัดหนองคายในที่สุด |
รายละเอียด: | วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552 |
URI: | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/579 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Pol-Theses |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
124343.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.97 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License