Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5839
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิกรณ์ รักษ์ปวงชน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชัชพล พาขุนทด, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-05-03T08:19:55Z-
dc.date.available2023-05-03T08:19:55Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5839-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการทำแท้งในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาหลักการ ความเป็นมา และแนวคิดเกี่ยวกับการทำแท้ง 2) เพื่อศึกษากฎหมายของประเทศไทยและกฎหมายของต่างประเทศที่เกี่ยวกับการทำแท้ง 3) เพื่อศึกษาปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการทำแท้ง 4) เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการทำแท้งของประเทศไทย การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการศึกษาทางเอกสารทางวิชาการ ต่าง ๆ เช่น ตำรา หนังสือ บทบัญญัติกฎหมาย วิทยานิพนธ์ สาระนิพนธ์ บทความวิชาการ คำพิพากษาศาลฎีกา และข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต ผลการศึกษาพบว่า บทบัญญัติของกฎหมายในเรื่องเกี่ยวกับข้อยกเว้นของการทำแท้งของประเทศไทยนั้น ยังไม่มีความชัดเจนและครอบคลุม อย่างเพียงพอ ผู้ศึกษาเห็นว่าจะต้องให้มีการกำหนดเหตุในการยุติการตั้งครรภ์ให้มีความชัดเจนโดยเสนอให้มีการบัญญัติกฎหมายเกี่ยวกับการยุติการ ตั้งครรภ์ไว้เป็นการเฉพาะการยุติการตั้งครรภ์ต้องกระทำในโรงพยาบาลหรือหน่วยงานของรัฐ ที่ให้บริการรับผู้ป่วยไว้ค้างคืนหรือสถานพยาบาลเวชกรรมที่มีเตียงรับผู้ป่วยไว้ค้างคืนตามกฎหมาย ว่าด้วยสถานพยาบาล หรือคลินิกเวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลด้วยเหตุอย่างใด ดังต่อไปนี้ คือ (1) เป็นการตั้งครรภ์ที่ก่อให้เกิดอันตราย ต่อชีวิตของหญิง (2) เป็นการตั้งครรภ์ที่ ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพร่างกายของหญิง (3) เป็นการตั้งครรภ์ที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพจิต ใจของหญิง (4) เป็นการตั้งครรภ์เนื่องจากการกระทำความผิดอาญาตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 276, มาตรา 277, มาตรา 282, มาตรา 283 หรือมาตรา 284 (5) ตรวจพบว่าหากทารกในครรภ์คลอดออกมาจะพิการทางร่างกายหรือมีความผิดปกติทางจิตหรือเป็นพาหะนำโรคร้าย (6) มีเหตุสำคัญทางเศรษฐกิจหรือสังคม (7) ตามการร้องขอของหญิงและต้องประกอบด้วยเงื่อนไขดังปรากฏตามบันทึกหลักการและเหตุผลพร้อมร่างพระราชบัญญัติวาด้วยการยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์ พ.ศ....ที่ได้เสนอมาพร้อมนี้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการทำแท้ง--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการทำแท้งในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeLegal problems of abortion in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study is 1) to study principles, histories and concepts related to abortion, 2) to study Thai and International laws related to abortion 3) to study legal problems of abortion and 4) to suggest guidelines for solving legal problems of abortion principles in Thailand. This independent study was a qualitative research carried out by documentary research on academics works i.e. text, book, law, thesis, dissertation, academic article, Supreme Court judgement and online data. The study revealed that there was not clear enough for the exception of abortion in Thai laws. The researcher suggested that it should be showed the cause of the termination of pregnancy distinctly by stipulating causes for this special law. The termination of pregnancy should have been done in hospitals or related government agencies that received patients stay overnights or in medical clinics in accordance with Sanitorium Act as followings: (1) such pregnancy might cause danger for female life, (2), such pregnancy might cause danger for female physical health, (3) such pregnancy might cause danger for female mental health, (4) such pregnancy caused by criminal matter as stipulated in Section 276, Section 277, Section 282, Section 283 or Section 284, (5) if such pregnancy be detected that embryo in her womb might be physical disabled or had some mental disorder or be a carrier of dangerous diseases, (6) economic or social problems and (7) as requesting of the female party and should be comprised with conditions as shown in the record of memorandum and reason associated with the draft of The Termination of Pregnancy Act as suggested hereen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_153299.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.21 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons