Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5855
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุจินตนา ชุมวิสูตรth_TH
dc.contributor.authorเจริญ ยอดทอง, 2515-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-05-08T03:44:00Z-
dc.date.available2023-05-08T03:44:00Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5855en_US
dc.description.abstractการค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงแนวคิด ทฤษฎีการลงโทษทางอาญา และการนำมาตรการทำงานบริการสังคมมาใช้กับโทษจำคุกระยะสั้นและโทษกักขังแทนค่าปรับ เพื่อความเหมาะสมในการศึกษาแนวทางการลงโทษและการกำหนดโทษทางอาญาในต่างประเทศเพื่อเปรียบเทียบกับประเทศไทย แล้วนํามาพิเคราะห์ถึงอุปสรรคและปัญหา หรือข้อบกพร่องในกระบวนการทางอาญา เพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหา จากการลงโทษ และการกำหนดโทษแก่ผู้กระทำความผิดของประเทศไทย การศึกษาค้นคว้าอิสระและวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยเอกสาร โดย รวบรวมข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นตัวบทกฎหมายของประเทศไทยและต่างประเทศ ตำรา บทความ งานวิจัย เพื่อการสังเคราะห์ในข้อมูลที่ทำการศึกษา แล้วนำมาสู่การแก้ไข ปรับปรุง กฎหมายเกี่ยวกับการนำมาตรการทำงานบริการสังคมมาใช้กับโทษจำคุกระยะสั้นและโทษกักขังแทนค่าปรับ ผลการศึกษาพบว่า ตามประมวลกฎหมายอาญาของไทยมีประเภทของโทษที่จํากัด มีการนำมาตรการทำงานบริการสังคมมาใช้ในกรณีเป็นส่วนหนึ่งของเงื่อนไขการคุมประพฤติ เพื่อหลีกเลี่ยงโทษจำคุกระยะสั้นเท่านั้น ศาลไม่อาจเลือกใช้บังคับในลักษณะของโทษได้ และในกรณีผู้ต้องโทษปรับไม่มีเงินชำระค่าปรับ เพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงการนำตัวผู้ต้องโทษปรับไปกักขังแทนค่าปรับ จึงให้ผู้ต้องโทษปรับร้องขอทำงานบริการสังคมแทนค่าปรับ ซึ่งในทางปฏิบัติแล้วศาลจะสั่งให้กักขังแทนค่าปรับเป็นส่วนใหญ่ในขณะที่ต่างประเทศได้พัฒนาให้มาตรการดังกล่าวเป็นโทษทางอาญาประเภทหนึ่ง และสามารถใช้ควบคู่กับโทษเสริมประเภทอื่น ๆ ได้เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาให้การทำงานบริการสังคมมีลักษณะเป็นโทษทางอาญาประเภทหนึ่ง และสามารถปรับใช้กฎหมายของประเทศไทยได้อยางเหมาะสมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectนักโทษ--การจัดการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleการนำมาตรการทำงานบริการสังคมมาใช้กับโทษจำคุกระยะสั้นและโทษกักขังแทนค่าปรับตามประมวลกฎหมายอาญาth_TH
dc.title.alternativeThe implementation of social service measures applies to short-term imprisonment and imprisonment penalties instead of fines for penalties under the penal codeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of independent research is to study the concept criminal theory the relating to the implementation of social service measures applies to short-term imprisonment and imprisonment instead of fines. In order to find suitable for the criminal penalties, this research compares between Thailand legislation and foreign legislation. Moreover, the problems and defects the criminal process are analyzed to find solutions to the problem of punishment and punishment for offender in Thailand Independent study and data analysis are qualitative research by means of document research by gathering information from all relevant documents such as the laws of Thailand and abroad textbooks research papers for synthesis in educational data. Then brought to the amendment of the law on the implementation of social service measures apply to short-term imprisonment and imprisonment penalty instead of fines The study found that Thai Penal Code still have a limited category of penalties social service measures were used as part of the probationary conditions to avoid short-term jail time. The court cannot apply the penalties in case of fines no fines in order to avoid bringing the penalties to the detainees instead of fines the petitioners are required to apply for social service instead of fines. In practice, the court will order the imprisonment instead of the fine while foreign countries have developed such measures as criminal penalties can use in conjunction with other types of penalty. This is beneficial for looking at foreign legislation to develop social services work as a criminal punishment which results in proper implementation for Thailand.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_156081.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons