Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5857
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภาณินี กิจพ่อค้า | th_TH |
dc.contributor.author | ขนิษฐา ฝักฝ่าย, 2526- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-05-08T04:30:11Z | - |
dc.date.available | 2023-05-08T04:30:11Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5857 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวความคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของต่างประเทศและในประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับการกันบุคคลไว้เป็นพยานและการรับฟังพยานบุคคลในคดีอาญา หลักกฎหมายที่ให้อำนาจคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ในการกันบุคคลไว้เป็นพยานและมาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องอื่น ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2554 รวมถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้องสภาพปัญหาและข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในคดีที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติมีมติให้กันบุคคลไว้เป็นพยานในคดีอาญารวมถึงแนวทางในการพิจารณาพิพากษาคดีของศาล และเพื่อหามาตรการที่เหมาะสมในการกันบุคคลหรือผู้ถูกกล่าวหาไว้เป็นพยานของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติให้มีประสิทธิภาพ การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยเอกสาร จากพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2554 หนังสือ เอกสารทางวิชาการ บทความทางวิชาการ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ รายงานวิทยานิพนธ์ ตัวบทกฎหมาย คำพิพากษา มติของคณะกรรมการป้องกนและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ และเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องต่างๆ เพื่อนำมาศึกษาวิจัยให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และขอบเขตแห่งการศึกษาวิจัย ผลการศึกษาพบว่า มีปัญหาการกันบุคคลหรือผู้ถูกกล่าวหาไว้เป็นพยาน ตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ซึ่งแยกพิจารณาได้ดังนี้ ปัญหาที่เกิดจากการรับฟังพยานตามกฎหมายที่ศาลยังมีดุลพินิจในการพิจารณาพิพากษาคดี และอาจไม่ให้น้ำหนักคำพยานที่ถูกกันไว้มาพิจารณาพิพากษาเพื่อลงโทษจำเลยก็ได้ เนื่องจากยังไม่มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดที่บัญญัติให้ศาลต้องถือข้อเท็จจริงตามคำพยานที่ถูกกันไว้ และที่ให้การไว้กับคณะกรรมการป้อง กันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ปัญหาการใช้ดุลพินิจในการเลือกบุคคลที่จะกันไว้เป็นพยานของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ที่กฎหมายเปิดช่องให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ มีอำนาจดุลพินิจโดยแท้ที่จะกันบุคคลใดเป็นพยานก็ได้ ซึ่งอาจจะขัดกับหลักนิติธรรมในการดำเนินคดีกับผู้ที่กระทำผิด ปัญหาในเรื่องที่พยานอาจไม่ได้รับความคุ้มครองและถูกกลั่นแกล้งจากผู้บังคับบัญชา โดยการถูกสอบสวนทางวินัยจากการที่มาเป็นพยานให้กับคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ และได้รับผลร้ายจากการถูกเพิกถอนสิทธิในการเข้ารับการคัดเลือกต่างๆ โดยที่ยังไม่มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดให้ความคุ้มครองมิให้พยานไม่ต้องถูกลงโทษทางวินัยจากการกลั่นแกล้งของผู้บังคับบัญชาดังกล่าว จึงจำเป็นต้องมีมาตรการทางกฎหมายกำหนดเรื่องดังกล่าวไว้ให้ชัดเจน โดยการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 ต่อไป | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | พยานบุคคล--การคุ้มครอง | th_TH |
dc.subject | พยานหลักฐาน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม | th_TH |
dc.title | การกันบุคคลหรือผู้ถูกกล่าวหาไว้เป็นพยานตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต | th_TH |
dc.title.alternative | Immunity from prosecution in exchange for the implicated testimony of the accused on the counter corruption | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were concepts and theories in relation to the criminal justice process in foreign countries and Thailand regarding putting a person for performing an act as a witness and the admissibility of oral evidence in the criminal case; law principles that give authority to National Anti-Corruption Commission to put a person under restraint for performing an act as witness and other related legal measures according to the Constitutional Act on the prevention and suppression of corruption B. E. 2542 and the additional amended edition B.E. 2554, including the related laws.; the conditions of problems and facts incurring in the case that the National Anti-Corruption Commission resolved to have people restrained for acting as witnesses in the criminal case, including the approach in conducting judicial proceedings of the court and; finding suitable measures in putting a person or the accused under restraint for performing an act as a witness of the National Anti-Corruption Commission so that they will become efficient. This independent study was a research in law conducted by using the methodology of Qualitative Research and Documentary Research from the Constitutional Act on the prevention and suppression of corruption B. E. 2542 and the additional amended edition B.E. 2554, books, academic documents, academic articles, electronics media, dissertation reports, the study on the judgment based on statutory provisions, the resolutions of the National Anti-Corruption Commission and other related documents. Doing research on these documents was conducted in order to attain the objectives within the scope of the research. From the study results, it was found that there are existing problems arising from putting a person or the accused under restraint for performing an act as a witness according to Anti-Corruption Act. This can be individually considered as follows: The problem arising from the admissibility of oral evidence according to the law whereby the court which still exercises its discretion in trying and adjudicates the case does not possibly give much weight of evidence to the person restrained for trying and adjudicating to convict the defendant. This is due to the fact that there are not any statutory provisions that designate the court to hold on to the truth according to the evidence from the person restrained and the statement made to the National Anti-Corruption Commission. The problem of using discretion to choose the person to be restrained for performing an act as a witness by the National Anti-Corruption Commission whereby the law allows the National Anti-Corruption Commission to have discretion indeed to restrain anyone for acting as a witness. This is inconsistent with the rule of law in prosecuting the offender. The problem arising from the fact that it is likely that the witness is not protected and is mistreated by the commander through the disciplinary investigation regarding acting as a witness for the National Anti-Corruption Commission. Moreover, the witness can be affected in terms of his right for selections being revoked while there are not any statutory provisions that protect the witness from being punished for the disciplinary action, resulting from the mistreat by the commander as mentioned. Therefore, there should be legal measures designating the mentioned matter clearly by further amending the Constitutional Act on the prevention and suppression of corruption B. E. 2542. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_156161.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License