Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5865
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกัลยาณี กิตติจิตต์th_TH
dc.contributor.authorเรวดี รัตนะมาลาth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-08T07:21:05Z-
dc.date.available2023-05-08T07:21:05Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5865en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 1 (2) เปรียบเทียบสภาพและปัญหาการบริหารงบประมาณของ สถานศึกษา จำแนกตามประสบการณ์ทำงานด้านงบประมาณและขนาดสถานศึกษาและ (3) ศึกษาแนวทางแกัไขปัญหาการบริหารงบประมาณของสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้ปฏิบัติงานด้านงบประมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้อำนวยการสถานศึกษา หัวหน้าฝ่ายงบประมาณ และครูผู้ปฏิบัติงานด้านงบประมาณในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 1 จำนวน 339 คน กำหนดขนาดกลุ่ม ตัวอย่างโดยใช้ตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกนและใช้การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมีอที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า สอบถามเกี่ยวกับสภาพและปัญหาการปฎิบัติงานด้านงบประมาณของสถานศึกษาที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีค่าความเที่ยง 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพการบริหารงบประมาณในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระด้บปานกลาง 6 ด้าน ยกเว้นด้านการบริหารงานการเงินมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ส่วนปัญหาการบริหารงบประมาณในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับปานกลางทุกด้าน (2) ผู้ที่มีประสบการณ์ทำงาน ด้านงบประมาณต่างกันมีสภาพและปัญหาการบริหาร งบประมาณที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 โดยผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า 5 ปี มีสภาพและปัญหาการ บริหารงบประมาณแตกต่างกันกับผู้ที่มีประสบการณ์มากกว่า 20 ปี สถานศึกษาที่มีขนาดแตกต่างกันมีสภาพและ ปัญหาการบริหารงบประมาณที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทีระดับ 0.05 โดยสถานศึกษาขนาคเล็กและสถานศึกษา ขนาดกลาง มีสภาพและปัญหาการบริหารงบประมาณที่แตกต่างกันกับสถานศึกษาขนาดใหญ่และสถานศึกษาขนาด ใหญ่พิเศษ และ(3) แนวทางในการแกัไขปัญหาการบริหารงบประมาณทั้ง 7 ด้าน คือกำหนดกรอบอัตรากำลังเจัาหน้าที่ปฎิบัติงานด้านงบประมาณโดยตรงในสถานศึกษาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.396en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิราช เขต 1--การบริหาร.th_TH
dc.subjectงบประมาณ--การจัดการth_TH
dc.titleการศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 1th_TH
dc.title.alternativeStudy of conditions and problems of budget administration of schools under Narathiwat Educational Service Area 1en_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.396-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.396en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the research were to: (1) investigate conditions and problems in budget administration found in schools located under Narathiwat Educational Service Area 1; (2) compare conditions and problems of budget administration of the schools classified as the personnel's experience and size of the schools ; and (3) offer ways to deal with the problems, according to opinions of school administrators and teacher doing the budget work. A total of 339 samples consisted of school principals, heads of the budget section and teachers doing budget work in the schools. The samples were obtained through Krejcie snd Morgan’s table and multiple steps of selection. The instrument used, was developed by the researcher, as a questionnaire of estimated value asking about conditions and problems concerning budgets with reliability value of 0.97. The statistics used for analyzing the data were percentage, means standard deviation, one-way analysis of variance. The results revealed as follows: (1) the budget administration was moderately rated. Considered into each aspect, six aspects were moderately rated; however, the financial administration was highly rated. The number of overall problems concerning budget administration was moderately rated, and when each aspect of the problems was rated, it was also moderately rated; (2) the conditions and problems were evaluated differently after the involving personnel’s different experiences at the 0.05 level of significance, the personnel’s experiences less than 5 year were different from those of more than 20 years; The schools with different sizes had different conditions and problems at the 0.05 level of significance . The small and medium schools had different conditions and problems from those of large and extra large; and (3) to solve problems in all the seven aspects of the budget administration, the qualifications of personnel required to work in the school budget administration should be directed by the schools.en_US
dc.contributor.coadvisorสุขุมาลย์ ชำนิจth_TH
dc.contributor.coadvisorวรรณดี แสงประทีปทองth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108624.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons