Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5868
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีระวุธ ธรรมกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorแอนนิชชา สิงห์คะนัน, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2023-05-08T07:47:53Z-
dc.date.available2023-05-08T07:47:53Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5868-
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคลและการสนับสนุนทางสังคม (2) ระดับภาวะเครียดในการทำงาน และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล การสนับสนุนทางสังคม และภาวะเครียดในการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขตพื้นที่ชายแดน จังหวัดเชียงราย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ บุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในเขตพื้นที่ชายแดน จังหวัดเชียงราย จำนวน 120 คน จากประชากรทั้งหมด 245 คน (ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล นักวิชาการสาธารณสุข พยาบาลวิชาชีพ เจ้าพนักงานสาธารณสุข) คำนวณขนาดตัวอย่างจากสูตรการประมาณค่าเฉลี่ย ในกรณีทราบประชากร และทำการสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายตามสัดส่วนประชากร เก็บข้อมูลโดยแบบสอบถามทั้งหมด 3 ส่วน ได้แก่ ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล การสนับสนุนทางสังคมและระดับภาวะความเครียด มีค่าความเที่ยง 0.95 เก็บข้อมูลระหว่างเดือนมิถุนายน ถึง สิงหาคม 2564 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ ผลการศึกษาพบว่า (1) บุคลากรสาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขตพื้นที่ชายแดน จังหวัดเชียงราย ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 35.8 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี ปฏิบัติหน้าที่ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุข ประสบการณ์การทำงานเฉลี่ย 12.1 ปี ระดับการสนับสนุนทางสังคมโดยรวม อยู่ในระดับสูง ร้อยละ 51.7 (2) ภาวะเครียดในการทำงานมีระดับน้อย และ (3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะเครียดในช่วงวิกฤตโควิด-19 ของบุคลากรสาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขตพื้นที่ชายแดน จังหวัดเชียงราย คือ ตำแหน่งงานและการสนับสนุนทางสังคมด้านสติปัญญา ซึ่งตัวแปรดังกล่าวสามารถร่วมกันทำนายระดับภาวะเครียด ร้อยละ 32.2th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล--ไทย--เชียงรายth_TH
dc.subjectบุคลากรทางการแพทย์--ความเครียดในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สาธารณสุขศาสตร์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อภาวะเครียดในการทำงานในช่วงวิกฤตโควิด-19 ของบุคลากรในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขตพื้นที่ชายแดน จังหวัดเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting work-related stress during COVID-19 crisis among personnel at sub-district health promoting hospitals in border area, Chiang Rai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis survey research aimed to (1) identify personal and social support factors, (2) determine the levels of work-related stress, and (3) determine the association between personal and social support factors and work-related stress of personnel at sub-district health promoting hospitals in the border area, Chiang Rai Province. The study involved 120 health officials selected from all 245 such personnel (including hospital directors, public health technical officers, registered nurses, and public health officers) at sub-district health promoting hospitals in Chiang Rai’s border area, using the population-proportional and simple random sampling method, based on the calculated sample size for the areas with a known population. Data were collected using three -part questionnaires: personal data, social support factors and stress levels with the reliability value of 0.95, between June and August 2021; and quantitative data analysis was performed to determine frequencies, percentages, means, standard deviations and regression analysis. The results showed that, among the study participants: (1) most of them were women with an average age of 35.8 years, graduated with a bachelor's degree, worked as a public health technical officers, had 12.1 years of work experience on average, and 51.7 % of them had a high level of overall social support; (2) their overall work-related stress level was low; and (3) the factors affecting their stress conditions during the COVID-19 crisis were nature of work/job position and social cognitive support; all of which could 32.2% explain stress levelsen_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons