Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5876
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา จันทร์คง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณิชา ยนต์พิพัฒนกุล, 2536--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2023-05-08T08:51:03Z-
dc.date.available2023-05-08T08:51:03Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5876-
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สถานการณ์และปัญหาการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับคลินิก และ (2) เสนอแนวทางการพัฒนาระบบการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับคลินิก ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้ประกอบกิจการคลินิก 53 คน และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานสถานพยาบาล 7 คน ศึกษาในประชากร ประกอบด้วย เภสัชกรใน รพ. ทุกแห่ง ๆ ละ 1 คน 5 คน เภสัชกร ในกลุ่มงาน 2 คน เก็บรวบรวมโดยใช้แบบประเมินตนเองและการสนทนากลุ่ม ความตรงของเนื้อหา อยู่ระหว่าง 0.67-1.0 และอำนาจจำแนกรายข้อ อยู่ระหว่าง 0.34-0.79 ความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ 0.908 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา คือ การแจกแจงความถี่ และร้อยละ ข้อมูลเชิงคุณภาพ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า (1) สถานการณ์และปัญหาการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของคลินิกในจังหวัดระนอง ส่วนใหญ่เป็นคลินิกการพยาบาลและการผดุงครรภ์ สำหรับคลินิกเวชกรรมเฉพาะทาง พบว่า เป็นคลินิกเวชกรรมเฉพาะทางสาขากุมาเวช และสาขาโสต ศอ นาสิกวิทยามากที่สุด ส่วนใหญ่เป็นเจ้าของ รับทราบและเห็นด้วยเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับคลินิก การใช้ยาอย่างสมเหตุผลในคลินิก โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และ (2) แนวทางการพัฒนาระบบการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับคลินิก จังหวัดระนอง ประกอบด้วย 1) การสร้างความเข้มแข็งของคณะกรรมการเภสัชกรรม โดยผู้ดำเนินการคลินิก เป็นกรรมการหลัก 2) การจัดทำฉลากยา ฉลากยาเสริม และข้อมูลยาสู่ประชาชน ให้จัดทำฉลากยาตามข้อกำหนดที่ระบุไว้ในมาตรฐานฉลากยาสำหรับสถานพยาบาลเอกชน 3) การจัดหาเครื่องมือจำเป็นที่ช่วยให้เกิดการสั่งใช้ยาอย่างสมเหตุผล ให้ทบทวนรายการยาที่ผู้ป่วยใช้ประจำ และแจ้งให้ผู้ป่วยเอายาเดิมมาทุกครั้งเมื่อมารักษา นำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการตรวจรักษา และจัดทำคำแนะนำ สำหรับโรคที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติ 4) การสร้างความตระหนักรู้ของบุคลากรทางการแพทย์และผู้รับบริการ ให้มีป้ายประชาสัมพันธ์ หรือป้ายเตือนภายในคลินิก ถึงการจ่ายยาปฏิชีวนะ 5) การดูแลด้านยาเพื่อความปลอดภัยของประชากรกลุ่มพิเศษ ให้งดเว้นการสั่งยาซ้ำซ้อนที่ก่อให้เกิดอันตรายได้ง่าย และ 6) การส่งเสริมจริยธรรมและจรรยาบรรณทางการแพทย์ในการสั่งใช้ยา ให้งดเว้นการสั่งยาที่เป็นสูตรลับ และไม่ให้ผู้อื่นที่ไม่ใช่แพทย์เป็นผู้สั่งยาแทนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการใช้ยาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สาธารณสุขศาสตร์th_TH
dc.titleแนวทางการพัฒนาการใช้ยาอย่างสมเหตุผล สำหรับคลินิกในจังหวัดระนองth_TH
dc.title.alternativeGuidelines for development of a rational drug use for clinics in Ranong Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis survey research aimed to: (1) investigate situations and problems of rational drug use (RDU) at clinicsclinics; and (2) propose guidelines for development of a RDU system for clinics in Ranong province. The study involved 53 clinic operators and 7 government officials responsible for the work of medical facilities, including 5 pharmacists (one from each hos pital) and 2 from the pharmacy group. Data were collected using a self self-assessment questionnaire and focus group discussions; the questionnaire questionnaire-related coefficients were 0.6 0.6–1.0 for IOC, 0.34 0.34–0.79 for discriminatory power, and 0.908 for Cronbach alpha or re liability. Data analysis included descriptive statistics to determine frequency and percentage as w ell as qualitative content analysis. The results indicated that: (1) concerning the RDU situations and problems at clinics, mostly nursing/midwifery and spe cialized medical clinics, most of the clinic owners acknowledged and agreed with the overall RDU pri nciples at a moderate level; and (2) the development of the RDU system for clinics in Ranong province was had six key elements: (a) Pharmacy and therapeut ics committee strengthening involving clinic operators as core members; (b) Labeling and leaflet fo r patients prepared according to the requirements of the Drug Label Standards for private health facilities; (c) Essential RDU tools provided for reviewing l ists of medications commonly used by patients, informing the patients to bring the same medicines every time when coming for treatment, using a computer when making examination and treatment, and creating advisory sheets for common diseases in medical prac tice; (d) Awareness of RDU principles raised among medical personnel and patients by posting publ icity or warning signs on antibiotic prescription at the clinics; (e) Special population group’s medication for patient safety by refraining from prescribing d uplicate medicines that easily cause patient harm; and (f) Ethics in prescription by refraining from prescribing secret drug formulas and not allowing other people other than the doctor to prescribe the drugsen_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.11 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons