Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/587
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสาวนีย์ อัศวโรจน์th_TH
dc.contributor.authorระพีพร รัตนเหลี่ยม, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-13T07:03:33Z-
dc.date.available2022-08-13T07:03:33Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/587en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายมหาชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมายความเป็นมา แนวคิด และทฤษฎี เกี่ยวกับสัญญาทางปกครองและการอนุญาโตตุลาการ เปรียบเทียบกฎหมายว่าด้วยการอนุญาโตตุลาการของไทย ตามพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 กับกฎหมายว่าด้วยการอนุญาโตตุลาการของต่างประเทศ และวิเคราะห์ปัญหาการอนุญาโตตุลาการในสัญญาทางปกครองด้านงานก่อสร้างของประเทศไทย เพื่อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาสำหรับการปรับปรุงและพัฒนากฎหมายว่าด้วยการอนุญาโตตุลาการ ในสัญญาทางปกครองด้านงานก่อสร้าง วิทยานิพนธ์นี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเป็นการวิจัยเอกสารจากการรวบรวมและ วิเคราะห์ข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ แนวคิด ทฤษฎี พระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 และกฎหมายว่าด้วยการอนุญาโตตุลาการของประเทศฝรั่งเศส เยอรมนี อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา คำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ และคำพิพากษาของศาลปกครองที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัย พบว่า ปัญหาที่ทำให้ข้อพิพาทในสัญญาทางปกครองด้านงานก่อสร้าง ระหว่างหน่วยงานของรัฐกับภาคเอกชนไม่อาจยุติได้โดยการอนุญาโตตุลาการ และมีการนำข้อพิพาท ขึ้นสู่ศาลปกครอง ทำให้สิ้นเปลืองเวลา และค่าใช้จ่าย รวมถึงไม่สามารถบังคับให้คู่สัญญาภาคเอกชน ซึ่งเป็นฝ่ายผิดสัญญาปฏิบัติตามข้อตกลงในสัญญาทางปกครองได้ เกิดจากการไม่มีกฎหมายสารบัญญัติ และกฎหมายวิธีสบัญญัติเกี่ยวกับสัญญาทางปกครองด้านงานก่อสร้าง ทำให้ไม่มีหลักเกณฑ์การจัดทำสัญญาอนุญาโตตุลาการที่มีความละเอียดและรัดกุมอย่างเพียงพอ และจากการเปรียบเทียบกฎหมาย พบว่า บางประเทศมีการกำหนดหลักเกณฑ์การจัดทำสัญญาอนุญาโตตุลาการเพิ่มเติมจากหลักการทั่วไป ให้ต้องกำหนดเรื่องที่สามารถใช้การอนุญาโตตุลาการได้ รวมถึงกรอบวงเงินสูงสุดซึ่งอนุญาโตตุลาการ สามารถสั่งให้คู่พิพาทจ่ายให้แก่กันได้เมื่อมีคำวินิจฉัยไว้ จึงเสนอให้มีการจัดทำกฎหมายว่าด้วย สัญญาทางปกครองด้านงานก่อสร้าง โดยให้มีหลักเกณฑ์ดังกล่าวรวมอยู่ด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.25en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการอนุญาโตตุลาการth_TH
dc.subjectกฎหมายก่อสร้างth_TH
dc.subjectพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ.2545th_TH
dc.titleการอนุญาโตตุลาการในสัญญาทางปกครองด้านงานก่อสร้างth_TH
dc.title.alternativeArbitration in administrative construction contractth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2018.25-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.25en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to study definition, origin, concept and theories of administrative law and the arbitration, to compare the Arbitration Act B.E. 2545 with foreign arbitration law and to study the problems of arbitration in administrative construction contract of Thailand in comparison with foreign countries in order to provide solution and recommendation for the development, improvement or amendment of Thailand administrative law related arbitration process. This thesis is a qualitative documentary research which collects and analyzes data from academic and research documents in relevant to the arbitration laws of Thailand, Germany, France, England and the United States following with the study case of a construction contract in which a party is a government agency and the private sector based on author experience. The research found that the main factors that make government still have to face problems arising from dispute resolution by arbitration and the dispute is proposed to administrative court causing consumption of time and financial expense is the lack of substantive and procedural laws for specifying the compulsory details in preparation of an arbitration agreement in administrative construction contact that is not yet comprehensive and still inadequacy. The comparison of foreign laws found that some countries have established rules for preparation of arbitration contract in addition to general principles included specification of subject matters of dispute that can be resolved by arbitration and maximum amount of money for which the arbitrator can order the parties to pay when the decision is made. Therefore, the study proposes to establish a new law for administrative construction contact with such criterions included.en_US
dc.contributor.coadvisorวิกรณ์ รักษ์ปวงชนth_TH
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib159895.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons