Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5881
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมพงศ์ มีสมนัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorไตรรัตน์ โภคพลากรณ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเยาวเรช นามวิจิตร-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-09T02:13:30Z-
dc.date.available2023-05-09T02:13:30Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5881-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาผลการดำเนินโครงการหมอดินอาสาของกรมพัฒนา ที่ดิน 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของโครงการหมอดินอาสาของกรมพัฒนาที่ดิน 3) เพื่อศึกษา แนวทางเพื่อใชัปรับปรุงและพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานโครงการหมอดินอาสา กลุ่มตัวอย่างได้แก่เจ้าหน้าที่กรมพัฒนาที่ดินที่เกี่ยวข้องกับโครงการหมอดินอาสาจำนวน 6 คน หมอดินอาสาดีเด่นที่เป็นเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 จำนวน 1 คน หมอ ดินอาสาดีเด่นของกรมพัฒนาที่ดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 จำนวน 18 คนและหมอดินอาสาดีเด่นที่ เป็นเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ของกรมพัฒนาที่ดินในจังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 1 คน รวมทั้งสิ้น 26 คน เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้เครื่องมือ คือ แบบสัมภาษณ์ กี่งมีโครงสรัาง เป็นการสัมภาษณ์ในเชิง ลึก วิเคราะห์ข้อมูล จากเอกสารและผลการสัมภาษณ์ วิเคราะห์เนื้อหาและกลุ่มคำหรือประโยค นำมาจัด หมวดหมู่และเขียนรายงาน ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการดำเนินโครงการหมอดินอาสาของกรมพัฒนาที่ดิน ใช้รูปแบบการ บริหารงานแบบเครือข่ายและการมีส่วนร่วมในลักษณะบูรณาการของเจ้าหน้าที่ทุกหน่วยงาน ภายในกรม พัฒนาที่ดิน รวมทั้งการมีส่วนร่วมของเกษตรกรภายในท้องถิ่น 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จ ของโครงการหมอดินอาสาของ กรมพัฒนาที่ดินได้แก่ การมีความเข้าใจในภารกิจของโครงการฯ เป็นอย่างดี ของเจ้าหน้าที่กรมพัฒนาที่ดินและหมอดินอาสา การได้รับการสนับสนุนจากนักบริหารระดับสูง การจำแนก โครงสรัางงานไปตามหน้าที่ของหน่วยงาน การประชุมเพื่อสรัางการยอมรับในงานก่อนมอบหมายงาน การมี ความเช้าใจในสภาพแวดล้อมและให้ความสำคัญด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของโครงการหมอดินอาสา รวมทั้ง การแก้ไขปัญหานอกเหนือความคาดหมายได้ดี 3) ข้อเสนอแนะเพื่อใช้ปรับปรุงและพัฒนา ประสิทธิภาพการดำเนินงานโครงการหมอดินอาสา ได้แก่ ผู้บริหารควรไปศึกษาปัญหาที่ต้นเหตุกับหมอดิน อาสาโดยตรง ควรมีการพัฒนาความรู้เพิ่มเติมให้กับหมอดินอาสาโดยเฉพาะหมอดินอาสาประจำหมู่บ้าน ควรมีการประชาสัมพันธ์งานพัฒนาที่ดินอย่างต่อเนื่อง และควรดำเนินการแก้ไขระบบการเบิกจ่ายปัจจัยการ ผลิตให้ทันเวลาและเพียงพอกับความต้องการของเกษตรกร ทั้งนี้ผลการศึกษาจากการประเมินโครงการหมอ ดินอาสากับงานพัฒนาที่ดินในภาพรวมสอดคล้องกับผลจากการศึกษาหมอดินอาสาจังหวัดฉะเชิงเทราth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโครงการหมอดินอาสาth_TH
dc.subjectโครงการ--การประเมินth_TH
dc.titleการประเมินโครงการหมอดินอาสากับงานพัฒนาที่ดิน : กรณีศึกษาหมอดินอาสาจังหวัดฉะเชิงเทราth_TH
dc.title.alternativeThe evaluation of Mordin Arsa project involving land development : a case study of Mordin Arsa in Chacherngsao Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to 1) study the result of the operation of Mordin Arsa project of Land Development Department 2) study the factors affecting the achievement of Mordin Arsa project of Land Development Department and 3) study the approaches to improve and develop the efficiency of project operation This study was a qualitative research. Samples consisted of 6 Land Development Department officers involving in Mordin Arsa project, I officer who was awarded best Mordin Arsa and Best National Farmer of fiscal year 2005, 18 officers who were awarded best Mordin Arsa of Land Development Department in fiscal year 2006, and I officers who was awarded best Mordin Arsa and Best National Farmer of Land Development Department in Chachoengsao Province, totally 26 samples. Instrument used was intensive semi-structured interview. Data collected from the interview and related document were analyzed according to their contents, group of phrases or sentences, then categorized and arranged in report. Research result revealed that I) the operational result of Mordin Arsa project of Land Development Department was based on network, integrative and participative management styles of officers in every unit in the Department including the participation of local farmers in the area 2) factors affecting the achievement of Mordin Arsa project were: the understanding of the Department’s officers and Mordin Arsa officers in project mission, top executives supporting, work structure categorized by unit function, meetings conducted to encourage assignment acceptance among officers involved, the understanding in the operation environment, the emphasis of human resource management of the project, and the ability to solve problems beyond expectation 3) recommendations to improve and develop the efficiency of (he operation of Mordin Arsa project were: the executives should participate directly with Mordin Arsa officers in analyzing root causes of the problems, Mordin Arsa officers should received more education particularly those working in the villages, land development activities should be continuously publicized, and the payment system for production input should be improved to be on lime and sufficient according to the requirement of the farmers in the area. The result of the study of Mordin Arsa project evaluation in general was in accord with the result of the study of Mordin Arsa project in Chachengsao Provinceen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108665.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.29 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons