Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5909
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกุลชลี จงเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบัณฑิต ตั้งกมลศรี, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-05-10T03:33:33Z-
dc.date.available2023-05-10T03:33:33Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5909-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเทศบาลนครนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ 2) เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นต่อการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงของสถานศึกษา และ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการนิเทศภายในแบบ พี่เลี้ยงของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พนักงานครูเทศบาลสังกัดสำนักงานเทศบาลนครนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ ปีการศึกษา 2563 จำนวน 179 คน ได้มาโดยการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางเคร็จซี่และมอร์แกน และใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบตอบสนองคู่เกี่ยวกับสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงของสถานศึกษา เป็นแบบมาตรประมาณค่า มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .93 และ .98 และแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงของสถานศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงของสถานศึกษา ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และสภาพที่พึงประสงค์การนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงของสถานศึกษา ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2) ผลการจัดลำดับความต้องการจำเป็นต่อการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงของสถานศึกษา พบว่า ลำดับที่มีความต้องการจำเป็นมากที่สุด ได้แก่ ด้านการนิเทศการปฏิบัติงานแบบพี่เลี้ยง รองลงมาเป็นด้านการเตรียมการนิเทศ ด้านการประเมินผลการนิเทศ และด้านการจัดทำแผนการนิเทศ และ 3) แนวทางการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงของสถานศึกษา พบว่า (1) ควรมีการพัฒนาการเตรียมการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงโดยสร้างการยอมรับของบุคลากรภายในสถานศึกษา การกำหนดเป้าหมาย และวิเคราะห์ความต้องการความจำเป็นในการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยง การอบรมให้ความรู้และฝึกทักษะให้กับครูพี่เลี้ยง และการเตรียมสื่อและเอกสารเพื่อการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยง (2) ควรมีการพัฒนาการจัดทำแผนการนิเทศโดยการวางแผน กำหนดปฎิทินการนิเทศ และระบุขั้นตอนการนิเทศร่วมกัน (3) ควรมีการพัฒนาแนวทางการนิเทศปฏิบัติงานด้วยวิธีการที่หลากหลาย การใช้หลักการนิเทศแบบกัลยาณมิตร การสะท้อนผลการปฏิบัติการสอนร่วมกันเป็นระยะ ๆ การกำกับ ติดตามจากหน่วยงานต้นสังกัด และการสร้างเครือข่ายการนิเทศ และ (4) ควรมีการพัฒนาการประเมินผลการนิเทศโดยเน้นการประเมินตามสภาพจริง การประเมินความพึงพอใจการนิเทศ และการเขียนรายงานและนำเสนอผลการนิเทศให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทราบth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectครูพี่เลี้ยง--ไทย--นครสวรรค์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleแนวทางการพัฒนาการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเทศบาลนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์th_TH
dc.title.alternativeThe guidelines for development of the mentoring internal supervision for Schools under Nakhon Sawan City Municipality, Nakhon Sawan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to study the current state and the desired state of the mentoring internal supervision for schools under Nakhon Sawan City Municipality, Nakhon Sawan Province; 2) to study the needs for the mentoring internal supervision for schools; and 3) to study the guidelines for development of the mentoring internal supervision for schools. The research sample consisted of 179 teachers in schools under Nakhon Sawan City Municipality, Nakhon Sawan Province during the academic year 2020, obtained by simple random sampling. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan Sample Size Table. The key informants for interviews were 5 experts. The employed research instruments were a rating scale questionnaire with a dual- response format, dealing with data on the current state and the desired state, with reliability coefficients of. 93 and .98, respectively; and an interview form about the guidelines for development of the mentoring internal supervision for schools. The quantitative data were statistically analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, and Priority Need Index (PNI); while qualitative data were analyzed with content analysis. The research findings were as follows: 1) the overall current state of the mentoring internal supervision for schools was rated at the moderate level, while that for the desired state of the mentoring internal supervision for schools was rated at the highest level; 2) the specific needs for specific mentoring internal supervision aspects were ranked from the highest to the lowest as follows: the operational supervision with the mentoring approach, the supervisory preparation, the supervisory evaluation, and the supervisory planning, respectively; and 3) the guidelines for development of the mentoring internal supervision for schools were as follows: (1) there should be a development of mentoring internal supervision preparation by creating the acceptance of school personnel, setting goal and analyzing the needs for mentoring internal supervision, training to educate and practice skills for teacher mentors, and preparing media and documents for mentoring internal supervision; (2) there should be a development of supervision plan by planning, setting a supervision timeframe and specifying the process of supervision together; (3) there should be a development of guidelines for operational supervision using a variety of methods, applying the principles of Kalyanamitr Supervision, reflecting teaching performance results periodically, monitoring and follow-up from the original affiliation, and building a network of supervision; and (4) there should be a development of supervisory evaluation by focusing on the authentic assessment, the assessment of supervision satisfaction, and the supervisory report writing and the supervision results presentation to the stakeholdersen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม23.38 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons