Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5913
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | วิสุทธิมรรค อำนักมณี | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-05-10T04:12:04Z | - |
dc.date.available | 2023-05-10T04:12:04Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5913 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรึยนรู้ของบุคลากรโรงเรียนไผทอุดมศึกษา (2) เปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของบุคลากรโรงเรียนไผทอุดมศึกษา (3) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะปัจจัยที่มีผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของบุคลากรโรงเรียนไผทอุดมศึกษากลุ่มตัวอย่างคือ บุคลากรโรงเรียนไผทอุดมศึกษา จำนวน 170 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานทดสอบสมมติฐานการวิจัยด้วยการทดสอบแบบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบเปรียบเทียบเป็นรายคู่ตามวิธีของเชฟเฟ่ ผลการวิจัย พบว่า (1) ความคิดเห็นต่อปัจจัยที่มึผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของบุคลากรโรงเรียนไผทอุดมศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก เพื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ปัจจัยด้านภาวะผู้นำทางวิชาการ ด้านวิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศด้านการบริหารการจัดการ ด้านบุคลากรและทีมงาน ด้านโครงสร้างการบริหาร ด้านบรรยากาศและ วัฒนธรรมการเรียนรู้ในโรงเรียน อยู่ในระดับดีมาก ยกเว้นปัจจัยด้านการจูงใจ อยู่ในระดับมาก (2) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งและระยะเวลาในการทำงานที่ต่างกัน มืผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ไม่แตกต่างกัน (3) ปัญหาและข้อเสนอแนะ บุคลากรส่วนใหญ่เห็นว่า โรงเรียนควรกำหนดตัวบ่งชี้ในบางยุทธศาสตร์ ให้ชัดเจน จัดสายงานบังคับบัญชาให้มีความกระชับและยืดหยุ่น กระจายอำนาจและให้อิสระแก่ทีมงาน มีกลไกการนิเทศให้ครอบคลุมทุกหน่วยงาน อบรมและพัฒนาการใช้เทคโนโลยึสารสนเทศใหม่ ๆ ผู้บริหารควรมีการสนับสนุนและแก้ไขปัญหาให้กับบุคลากรในการทำงาน การประเมินผลการปฏิบัติงานหรือประกาศเกียรติคุณ ควรมีหลักเกณฑ์การประเมินที่ชัดเจนและเป็นธรรม และควรเสริมสร้างประเพณีที่สืบทอดความภูมิใจในโรงเรียน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.444 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรงเรียนไผทอุดมศึกษา | th_TH |
dc.subject | การเรียนรู้องค์การ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ของบุคลากรโรงเรียนไผทอุดมศึกษา | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting learning organization of Patai Udom Suksa School personnel | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2007.444 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.444 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were: (1) to study factors affecting the learning organization of Patai Udom Suksa School personnel; (2) to compare personal factors affecting the learning organization of Patai Udom Suksa School personnel; and (3) to study problems and suggestions of factors affecting the learning organization of Patai Udom Suksa School personnel. This survey research was conducted based on 170 personnel of Patai Udom Suksa School using a questionnaire as a tool. The data was analyzed as percentage, mean, standard deviations. The research assumption was examined by t-test and One-Way ANOVA. The differences between groups were compared by using Scheffd 's method. Survey results showed that (1) the personnel’s opinions toward factors affecting the learning organization of Patai Udom Suksa School personnel were totally at the very good level. It was found individually that the factors in academic leader, vision, mission and strategy, information technology, administration and management, personnel and teamwork, administrative structure, atmosphere and learning culture in the school were at the very good level, except motivational factor which was at the good level; (2) according to the assumption testing, personal factor classified as different genders, ages, educational levels, positions and durations of work had the same opinions toward factors affecting the learning organization; and (3) the problems and suggestions showed that most of personnel thought that the school should determine the indicators clearer in some strategies; manage organization concisely and flexibly; decentralize and give the teamwork a chance to work independently; have the supervision mechanism in all sections; provide training and develop new information technology; support and help personnel by the executives to solve problems in working; evaluate work or announce honor by having clear and impartial evaluation criteria, and promote traditions which keep the school’s pride. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | อมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์ | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | ณรงค์ศักดิ์ บุญเลิศ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
108678.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 8.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License