Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5930
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชาว์ โรจนแสง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกนกวรรณ บุญชัย-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-10T07:55:53Z-
dc.date.available2023-05-10T07:55:53Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5930-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยลักษณะส่วนบุคคลที่มีผลต่อการตัดสินใจ เลึอกใช้บริการสุขภาพที่แผนกพยาบาลศัลยกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า และ (2) ปัจจัย การตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการสุขภาพที่แผนกพยาบาลศัลยกรรมโรงพยาบาล พระมงกุฎเกล้า กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ที่ตัดสินใจเลือกใช้บริการสุขภาพที่แผนกศัลยกรรมโรงพยาบาล พระมงกุฎเกล้า โดยแพทย์รับตัวไว้รักษาเป็นผู้ป่วยใน จำนวน 383 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือแบบสอบถาม สถิติที่ใชัในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ รัอยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน การทดสอบที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ส่วนใหญ่ มีอายุตั้งแต่ 61 ปีขึ้นไป มีการศึกษาในระดับปริญญาตรีมากที่สุด ส่วนใหญ่มีอาชีพเป็นข้าราชการ และมีรายได้ของครอบครัวต่อเดีอน 20,001-30,000 บาท สถานบริการสาธารณสุขที่อยู่ใกล้บ้านของ กลุ่มตัวอย่างมากที่สุด คือ โรงพยาบาลรัฐบาล กลุ่มตัวอย่างเคยนอนพักมากกว่า 1 ครั้งในรอบ 1 ปี ที่ผ่านมา ส่วนใหญ่ใช้สิทธิข้าราชการมากที่สุด และ (2) ปัจจัยการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจ เลึอกใช้บริการสุขภาพที่แผนกพยาบาลศัลยกรรมโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าโดยรวมอยู่ในระดับ มาก โดยเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยกับด้านกระบวนการให้บริการมาก ที่สุด รองลงมาคือ ด้านผู้ให้บริการ ด้านลักษณะทางกายภาพ ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้าน ช่องทางการให้บริการ ด้านการบริการและด้านราคาและยังพบว่าเพศอายุสถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ของครอบครัวต่อเดือน สถานบริการสาธารณสุขที่อยู่ใกล้บาน จำนวน ครั้งที่เคยนอนพัก ผู้รับผิดชอบจ่ายค่าบริการพยาบาลหรือคุ้มครองการรักษาพยาบาล ที่แตกต่างกันมี การพิจารณาปัจจัยการตลาดไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลพระมงกุฎ. แผนกพยาบาลศัลยกรรมth_TH
dc.subjectบริการสุขภาพ--การตัดสินใจth_TH
dc.titleปัจจัยการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินในเลือกใช้บริการสุขภาพที่แผนกพยาบาลศัลยกรรมโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าth_TH
dc.title.alternativeMarketing factors affecting health service selection decision at Surgical Nursing Division, Phramongkutklao Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were to study: (1) personal factors affecting health service selection decisions in Surgical Nursing Division of Phramongkutklao Hospital; and (2) marketing factors affecting health service selection decisions in the Division. The studied samples were 383 inpatients who had health service selection decisions at the Division Questionnaires were used as the research instrument Statistical tools administered in data analysis included percentage, frequency, mean, standard deviation, t-test, and one- way ANOVA. The findings of this research, were: (1) the samples consisted of female were at the average age over 61 years old. Their education level were bachelor’s degree. Most of them were government officer with monthly income of family level at 20,001-30,000 bath. The nearest public health providers was government hospital. Most patients had recuperated for over once in the previous year with using insurance of government; and (2) the overall marketing mix factor affecting health service selection decisions at the Division was at the high level. Considering in each aspect, the samples most aged with service prosy, followed by service provider, physical evidence, service process, promotion, place, service, and price. Moreover, different sex, age, marital status, education level, occupation, monthly income of family, the nearest health, entry time of recuperation and insurance agent had no different marketing mix factoren_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108682.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.35 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons