Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5934
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุรพร เสี้ยนสลาย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชมนาฎ พันธุ์ศุภผล-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-10T09:06:16Z-
dc.date.available2023-05-10T09:06:16Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5934-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนึ้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลและประสิทธิภาพต่อการบริการประชาชนของสำนักทะเบียนอำเภอ (2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลประสิทธิผลและประสิทธิภาพการบริการประชาชนของสำนักทะเบียนอำเภอ (3) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างของประสิทธิผลของการบริการประชาชนในแต่ละระดับชั้นของสำนักทะเบียนอำเภอ (4) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างของประสิทธิภาพของการบริการประชาชนในแต่ละระดับชั้นของสำนักทะเบียนอำเภอ (5) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการบริการประชาชนของสำนักทะเบียนอำเภอ (6) เพื่อเสนอแนะแนวทางพัฒนาระบบงานบริการให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน การวิจัยครั้งนี้ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงสพรวจ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ สำนักทะเบียนอำเภอ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 16 สำนักทะเบียน จำนวนประชากร 751,639 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ สำนักทะเบียนอำเภอ จำนวน 8 สำนักทะเบียน จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 480 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทำวิจัย คือ แบบสอบถามประชาชนผู้มาติดต่อรับบริการจากสำนักทะเบียนอำเภอ และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานของสำนักทะเบียนอำเภอ และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจากหัวหน้าฝ่ายทะเบียนและบัตรทุกสำนักทะเบียนอำเภอในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 8 สำนักทะเบียน และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติต่างๆ ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์พหุถดถอย การทดสอบค่าทีการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัย พบว่า (1) ประสิทธิผลต่อการบริการประชาชนของสำนักทะเบียนอำเภอ อยู่ในระดับน้อยกว่าร้อยละ 80 ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานที่ตั้งไว้ และประสิทธิภาพการบริการประชาชนของสำนักทะเบียนอำเภอ อยู่ในระดับน้อยกว่าร้อยละ 80 ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานที่ตั้งไว้ (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการบริการประชาชนของสำนักทะเบียนอำเภอมีตัวแปร 7 ตัวแปร คือ ปัจจัยย้อนกลับ หลักความคุ้มค่า ความสะดวกของช่องทางการให้บริการ การทำงานอย่างมีศักดิ์ศรี หลักคุณธรรม ความพร้อมในปัจัยการให้บริการ และหลักความรับผิดชอบ ส่วนปัจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการบริการประชาชนของสำนักทะเบียนอำเภอ มีตัวแปร 3 ตัวแปร คือ หลักนิติธรรม ความพร้อมในปัจัยการให้บริการ/กลุ่มปัจัยที่มิใช่บุคคล และความขยันตั้งใจทำงาน (3) ประสิทธผลของการบริการประชาชนในแต่ละระดับชั้นของสำนักทะเบียนอำเภอ มีความแตกต่างกัน ซึ่งยอมรับรับสมมติบาน (4) ประสิทธิภาพของการบริการประชาชนในแต่ละระดับชั้นของสำนักทะเบียนอำเภอ ไม่แตกต่างกัน ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานที่ตั้งไว้ (5) ปัญหาอุปสรรค พบว่า จำนวนเจ้าหน้าที่ในการให้บริการมีไม่เพียงพอ ขาดความพร้อมวัสดุอุปกรณ์เทคโนโลยี อำนวยความสะดวกอื่นๆ ที่ใช้ในการให้บริการ เช่น คอมพิวเตอร์ เครื่องโทรสาร เครื่องถ่ายเอกสาร เป็นต้น ขั้นตอนการให้บริการและเอกสารที่ยังขาดความชัดเจนและยุ่งยาก ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข คือ ควรเพิ่มอัตรากำลังให้สอดคล้องกับปริมาณงาน ควรกำหนดหลักเกณฑ์ขั้นตอน ระยะเวลา ตลอดจนหลักฐานต่างๆ ในการให้บริการให้ชัดเจนและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ประชานผู้รับบริการได้รับทราบอย่างทั่วถึง ควรมีการจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอในด้านการให้บริการประชาชน ควรจัดหาปรับปรุง วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ให้ทันสมัยและพร้อมในการปฏิบัติงาน เพื่อตอบสนองตรงกับความต้องการของประชาชนและรวดเร็วในการปฏิบัติงาน รวมทั้ง ควรส่งเสริมบุคลากรเข้าอบรมเพิ่มความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานและการใช้อุปกรณ์สมัยใหม่ และเน้นให้ผู้บริหาร กำกับ ดูแล สร้างกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และจิตสำนึกการให้บริการแก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน เพื่อพัฒนาการบริการอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.376-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักทะเบียนอำเภอ--ไทย--พระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.subjectบริการสาธารณะ--ไทย--พระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลและประสิทธิภาพการบริการประชาชนของสำนักทะเบียนอำเภอในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing the effectiveness and efficiency of service delivered to the people of district registration offices in Phra Nakhon Si Ayutthaya Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.376-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to : (1) examine the level of effectiveness and efficiency of District Registration Offices’ service delivered to the people ; (2) study the factors influencing the effectiveness and efficiency of District Registration Offices’ service delivered to the people ; (3) compare the effectiveness of services delivered by each District Registration Office ; (4) compare the efficiency of services delivered by each District Registration Office ; (5) study the problems and barriers of service delivery of District Registration Offices ; and (6) recommend the appropriate ways to develop the services in accord with public requirement. This research was a survey research. Population was 751,639 civilian in 16 District Registration Offices in Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. Samples consisted of 480 service recipients from 8 District Registration Offices. Instrument included questionnaires for service recipients and District Registration Offices’ personnel, and in- depth interview for 8 District Registration Offices’s heads of division. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, stepwise multiple regression, t-test, ANOVA. The research result revealed that: (1) the effectiveness level of the services of District Registration Offices was less than 80% which rejected the hypothesis while the efficiency level of the services was as well less than 80% which also rejected the hypothesis ; (2) factors influencing the effectiveness of services of District Registration Offices were 7 variables as follows: feedback factor, value for money, convenient channel of services, integrity, ethics, readiness in services factors, and accountability; factors influencing the efficiency of services were 3 variables as follows: rule of laws , readiness in non-personnel services factor, and personnel activeness ; (3) the effectiveness of the services delivered to the people by each District Registration Offices were different which accepted the hypothesis ; (4) the efficiency of the services delivered to the public by each District Registration Offices had no differences which rejected the hypothesis ;and (5) the problems and barriers in service delivery were insufficient personnel, lack of office technology equipment and facilities such as computer, facsimile and copy machines, unclear and confused service delivery steps and paper work system. Recommendation were that manpower should be increased to match workload; standard, steps, cycle time, and document required for each transaction should be determined and publicized to the public; budget in service delivery should be allocated sufficiently; modem offices equipment should be provided and kept ready for use so consequently service recipients’ needs would be promptly responded; personnel should be trained to increase their operational knowledge and skill, and also to be able to handle modem equipment; the management should monitor, support new paradigm, culture, and encourage personnel to have service mind so to improve the efficiency of the service as a wholeen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108683.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.77 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons