Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5939
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกฤษฎา ประศาสน์วุฒิ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปฎิญญา นิธิสมบัติ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-11T03:23:02Z-
dc.date.available2023-05-11T03:23:02Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5939-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการศึกษาเรื่อง ความผูกพันต่อองค์กร ของพนักงานเทศบาลนคร จังหวัดนครสวรรค์ ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานเทศบาลนคร จังหวัด นครสวรรค์ (2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานเทศบาลนคร จังหวัด นครสวรรค์ (3) ศึกษาแนวทางในการเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานเทศบาลนคร จังหวัดนครสวรรค์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยศึกษาจากประชากรทั้งหมดที่เป็นบุคลากร ของเทศบาลนครจังหวัดนครสวรรค์ จำนวนทั้งสิ้น 344 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การหาค่าสัม ประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยแบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า (1) ความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานเทศบาลนคร จังหวัด นครสวรรค์อยู่ในระดับมาก (2) ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กร เรียงตามลำดับจากมากไปหา น้อย ได้แก่ ความสำคัญของงาน ความสัมพันธ์กับกับเพื่อนร่วมงาน ความพอใจในงาน และการมี ส่วนร่วม (3) แนวทางในการเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์กร ได้แก่ องค์การควรแสดงให้เห็น อย่างจริงใจถึงการรับรู้ว่า บุคลากรได้ปฏิบัติงานในหน้าที่ให้ลุล่วงด้วยควานทุ่มเท ควรปฏิบัติต่อ บุคลากรอย่างเสมอภาค ควรเปิดโอกาสให้บุคลากรได้มีส่วนร่วมในขั้นตอนต่างๆ ของการ ปฏิบัติงาน ควรส่งเสริมการติดต่อประสานงานและความร่วมมีอกันระหว่างสำนัก/กองงานต่างๆ และควรจัดให้บุคลากรได้รับการอบรมเพื่อเพื่มเติมความรู้และทักษะจำเป็นซึ่งจะส่งผลให้สามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และมีศักยภาพที่จะเข้ารับตำแหน่งที่สูงขั้นใน องค์การต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.364-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเทศบาลนคร จังหวัดนครสวรรค์--ข้าราชการและพนักงานth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.titleความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานเทศบาลนคร จังหวัดนครสวรรค์th_TH
dc.title.alternativeThe organizational commitment of Municipal Officers, Nakhon Sawan Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.364-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe object,es of this study were to : (1) study the level of organizational commitment of municipal officers in Nakhon Sa wan Province ; (2) study the factors affecting the organizational commitment of municipal officers in Nakhon Sawan Province ; and (3) study the ways to enhance organizational commitment of municipal officers in Nakhon Sawan Province. This study was a survey research studying whole population of 344 Nakhon Sawan Municipal officers. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed to analyze data collected were frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson Product Moment Correlation Cooefficient, and Stepwise Regression. Research result revealed that : (1) organizational commitment of municipal officers in Nakhon Sawan Province was at high level ; (2) factors affecting the organizational commitment were job importance, interpersonal relationship, job satisfaction and employees participation, respectively ; and (3) ways to enhance organizational commitment were: the organization should sincerely express its recognition of employees’ dedication on their performance, treat them equally, provide them with more opportunities to participate in all steps of the operation to complete the office tasks, encourage and facilitate coordination and cooperation among sections, provide more training to the officers so to add up necessary knowledge and skills which would consequently result in job efficiency, job effectiveness, and also their potentials for higher position in the organizationen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108685.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.72 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons