Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5977
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | มันทนา วุ่นหนู | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-05-15T03:03:13Z | - |
dc.date.available | 2023-05-15T03:03:13Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5977 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตฤประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการ ปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดนราธิวาส (2) เปรียบเทียบปัจจัยทีมีผล ต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดนราธิวาส (3) เสนอแนะเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาจังหวัดนราธิวาส กลุ่มตัวอย่างคือบุคลากรระดับปฏิบัติการใน 1) สำนักงานเขตพื้นทีการศึกษานราธิวาส เขต 1 จำนวน 97 คน 2) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 2 จำนวน 80 คน และ 3) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 3 จำนวน 58 คน รวมทั้งสิ้นจำนวน 235 คน เครื่องมือ ที่ใช้เป็นแบบสอบถาม มีค่าความเที่ยง .95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ รัอยละ ค่าเฉลีย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า (1) บุคลากรสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดนราธิวาส มีระดับ ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน จำแนกตามปัจจัยด้านต่างๆ ในภาพรวม พบว่า ไม่ทำให้ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานแตกต่างกัน (3) ข้อเสนอแนะให้สำนักงานเขตพื้นทีการศึกษาจังหวัด นำปัจจัยทั้ง 4 ด้าน มาปรับปรุงพัฒนาเพื่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.369 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดนราธิวาส--พนักงาน | th_TH |
dc.subject | การทำงาน | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดนราธิวาส | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting the efficiency of the officials' task performance of Narathiwat Educational Service Area | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2008.369 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.369 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study : (1) the level ot the factors affecting the efficiency of the officials’ task performance of Narathiwat Educational Service Area ;(2)compare the factors affecting the efficiency of the officials’ task performance of Narathiwat Educational Service Area ; and (3) recommend the improving factors affecting the efficiency of the officials’ task performance of Narathiwat Educational Service Area. The selected samples of this research were : (1) 97 officials of Narathiwat Educational Service Area 1 ; (2) 80 officials of Narathiwat Educational Service Area 2;and 3) 58 officials of Narathiwat Educational Service Area 3 ; totally of 235 samples. The instrument use was a questionnaire with reliability value of .95. Statistics used for data analysis , included percentage , mean , standard deviation 11- test , and ANOVA The research found that : (1) the overall opinion about the affecting factors of the officials’ task performance was at the high level; (2) when comparing 4 factors 1there were no different efficiencies; (3) for suggestion, the 4 affecting factors should be improved for the efficiency. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | อมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์ | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | ณรงค์ศักดิ์ บุญเลิศ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
108704.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.38 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License