Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/597
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มาลี สุรเชษฐ | th_TH |
dc.contributor.author | วรินทร ชยวัฑโฒ, 2509- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-13T07:44:11Z | - |
dc.date.available | 2022-08-13T07:44:11Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/597 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายมหาชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555 | th_TH |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ีผู้ศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาในเรื่องดังต่อไปนี้คือ 1. ความสำคัญ และสภาพปัญหาของการฟ้องคดีปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในศาลปกครอง 2. แนวคิดและทฤษฎี เกี่ยวกับการระงับข้อพิพาท ด้านสิ่งแวดล้อม ความยุติธรรม และการมีส่วนร่วมของประชาชน 3. มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยและต่างประเทศ ได้แก่ประเทศฝรั่งเศส ประเทศเยอรมัน และประเทศญี่ปุ่น 4. วิเคราะห์ปัญหาทางกฎหมายของการนำการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทคดีปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมมาใช้ในศาลปกครอง และ 5. เพื่อค้นคว้าหามาตรการที่เหมาะสมมาใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อนำการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท มาใช้ในคดีสิ่งแวดล้อมของศาลปกครอง งานวิจัยฉบับนี้ีเป็นการวิจัยทางกฎหมายในเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาจากเอกสารต่างๆ ดังเช่น บทบัญญัติของกฎหมาย หนังสือ ตํารา บทความ คําพิพากษาของศาลปกครอง รวมทั้งเอกสารที่เกี่ยวของทั้งภาษาไทยและต่างประเทศ จากการศึกษาพบว่า ในปัจจุบันศาลปกครองใช้วิธีพิจารณาคดีปกครองเกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมเช่นเดียวกับคดีปกครองอื่น ซึ่งยังไม่มีบทบัญญัติให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทได้ผู้ศึกษา ขอเสนอให้ยกเลิกความในมาตรา 44 แห่งพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “การดําเนินการทั้งปวงเกี่ยวกับการฟ้อง การร้องสอด การเรียกบุคคล หน่วยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐเข้ามาเป็นคู่กรณีในคดีการดำเนินกระบวนพิจารณา การรับฟังพยานหลักฐาน การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท และการพิพากษาคดีปกครอง นอกจากที่บัญญัติไว้ แล้วในพระราชบัญญัตินี้ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่กำหนดโดยระเบียบของที่่ประชุม ใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด” และ เพิ่มมาตรา 60/1 ความว่า “ ในระหว่างการพิจารณาของ ศาลปกครองชั้นต้น หากตุลาการศาลปกครองเห็นสมควรหรือคู่กรณีร้องขอให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ให้ศาลดำเนินการใหเป็นไปตามนั้น” | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.238 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ศาลปกครอง | th_TH |
dc.subject | การไกล่เกลี่ย | th_TH |
dc.title | การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทคดีสิ่งแวดล้อมในศาลปกครอง | th_TH |
dc.title.alternative | Environmental-case-related mediation in administrative court | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2012.238 | en_US |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.238 | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The thesis: 1) studied im portance and problem s of environm ent-caserelated prosecution in adm inistrative court; 2) studied concepts and theories of environmental dispute settlem ent, justi ce and public involvem ent; 3) studied mediation measures of environmental cases in Thailand and foreign countries such as France, Germ any and Japan; 4) analyzed legal problem s of dispute settlem ent of administrative cases; and 5) did research on measures suitable for solving problems of dispute settlement in administrative court. In this qualitative research, documents such as Thai and foreign provisions of the laws, books, textbooks, articles and judgm ents of the Adm inistrative Court were studied. It was found that at present, the Ad ministrative Court applied the sam e prosecuting m ethods in environm ental cases as in other kinds of cases without the mediation provision. The researcher suggested replacement of Section 44 of the Court and Adm inistrative Court Procedure Act, B.E.2542 with “ any actions in connection with the filing of a case interp leading the sum moning of a person, administrativeagency or State official to become a party to a case, the proceedings ,the hearing of evidence m ediation and th e adjudication of an adm inistrative case other than those already provided in this Act shall be in accordance with the rules and procedure prescribed by the rule of the ge neral assembly of judges of The Suprem e Administrative Court”. In addition, “ Duringtheproceedingsifan adm inistrative judge orthe partiesagreed torequest a m ediation, a court shall act accordingly” , should be added in Section 60/1. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ประพจน์ คล้ายสุบรรณ | th_TH |
Appears in Collections: | Law-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib135317.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License