Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5982
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีธนา บุญญเศรษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุนิสา จุ้ยม่วงศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุรชัย วิลาศ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-15T04:00:07Z-
dc.date.available2023-05-15T04:00:07Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5982-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตจถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อการให้บริการ ของที่ทำการไปรษณีย์ปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 2) เปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อการ ให้บริการของที่ทำการไปรษณีย์ปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี จำแนกตามปัจจัยส่านบุคคลและพฤติกรรมการ ให้บริการและ 3) ศึกษาแนวทางในการพัฒนาการบริการของที่ทำการไปรษณีย์ปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรประกอบด้วย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มแรกเป็น ผู้ใช้บริการที่เคาน์เตอร์รับฝาก ณ ที่ทำการไปรษณีย์ปากเกร็ดจำนวนเฉลี่ยเดือนละ 10,000 คน ได้กลุ่ม ตัวอย่างจำนวน 455 คนและกลุ่มที่ 2 เป็นผู้บริหารและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการที่เคาน์เตอร์ รับฝาก จำนวน 12 คน เครื่องมือที่ใชัเป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ซึ่งได้รับแบบสอบถามกับคืน จำนวน 455 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่ารัอยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบทีการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีผลต่าง นัยส่าคัญน้อยที่สุด และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อการให้บริการของที่ทำการไปรษณีย์ ปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีความพึงพอใจมากที่สุดอยู่ในระดับมาก เพียงด้านเดียว คือ ด้านพนักงาน รองลงมาอยู่ในระดับปานกลาง คือ ด้านกระบวนการให้นฃบริการ ด้านผลิตภัณฑ์หรือบริการ ด้านสิ่งที่สัมผัสได้ทางกายภาพ ด้านการจัดจำหน่าย ด้านราคา และด้านการ ส่งเสริมการตลาด ตามลำดับ 2) ผู้ใช้บริการที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกันในด้านอายุ ระดับการศึกษา อาชีพปัจจุบัน และรายได้ของครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน และมีพฤติกรรมการใช้บริการแตกต่างกันในด้าน จำนวนครั้งต่อเดือนที่มาใช้บริการและประเภทของบริการที่ใช้เป็นประจำมีความพึงพอใจต่อการให้บริการ แตกด่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 3) แนวทางในการพัฒนาการให้บริการของที่ทำการ ไปรษณีย์ปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ได้แก่ การจัดฝึกอบรม สรัางแรงจูงใจ และแจังข้อมูลข่าวสารให้กับ พนักงานอย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง รวมทั้งการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาให้บริการที่ทันสมัยและเพียงพอth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.370-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectที่ทำการไปรษณีย์ปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.titleความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อการให้บริการของที่ทำการไปรษณีย์ปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeCustomers' satisfaction of Pakkret Post Office services in Nonthaburi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.370-
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe research’s objectives were to: 1) study the customers’ satisfaction towards services of Pakkret post office, Nonthaburi Province; 2) compare the customers’ satisfaction to the services, analyzed by personal factor and behaviors of using services; and 3) find the appropriate courses for the post’s service development. This research was conducted on the basis of survey research. The population was divided into two groups; the first group is the customers at the deposit counter of Pakkret post office with average number of 10,000 capita / month (the amount of this sample group was 445 persons), and the second group was the administrators and personnel who were in charge of the deposit counter (the amount of this sample group was 12 persons). The instruments collected information were questionnaire and in-depth interview. The questionnaires were received back 445 copies (100%). The research's data analysis was percent, mean, stand deviation, t-test, one-way ANOVA by LSD (Least Significant Difference) method and content analysis. The results indicated that: 1) customers’ overall satisfaction towards the services of Pakkret Post Office was at the moderate level. The highest satisfaction was on personnel only and followed by the service process, product/service, physical evidence, place, price, and marketing promotion; respectively at the moderate level; 2) the customers with different characteristics including age, education level, current occupation, the average monthly incomes of individual family, and the behavior of using the post’s services had differentiated their satisfactions towards the post’s services in terms of numbers of using monthly service and regularly service type at .05 of significant level; and 3) the proper courses for the post’s development were the trainings for the post’s officers, followed by the enhancement of the officers’ motivation, thorough and continual informing about news and information to its officers, as well as the application of new technologies for responding to the customers' demandsen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108705.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.5 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons