กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5985
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธนชัย ยมจินดา | th_TH |
dc.contributor.author | สุรัตน์จี คูตระกูล | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-05-15T04:33:37Z | - |
dc.date.available | 2023-05-15T04:33:37Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5985 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มึวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน และ (2) ศึกษาลักษณะทางประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ พนักงานธนาคารพาณิชย์ไทยที่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จากประชากรซึ่งเป็นพนักงานธนาคารพาณิชย์ไทย 9 ธนาคาร ที่มีจำนวน 40,282 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลทำโดยใช้ แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ ซึ่งประกอบด้วย คำถามลักษณะทางประชากรคาสตร์ และคำถามเกี่ยวกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน 11 ด้าน ในการวิเคราะห์ข้อมูลทำโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ SPSS ด้วยการใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) และ การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว(ANOVA) ในกรณีที่มีความแตกต่าง จะใช้การทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ่ ผลการวิจัย พบว่า (1) ค่าเฉลี่ยของแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมของพนักงานธนาคารพาณิชย์ไทยในเขตกรุงเทพมหานครในทุก ๆ ด้าน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ "ปานกลาง" จำนวน 9 ด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ย “มากสุด" ได้แก่ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล มีค่าเฉลี่ย 3.59 ส่วนด้านเงินเดึอนและสวัสดิการมีค่าเฉลี่ย “น้อยสุด" คือ 2.80 และมีค่าอยู่ในระดับ “สูง'’ 2 ด้าน คือ ด้านความสำเร็จในงานมีค่าเฉลี่ย 3.91 ด้านความมั่นคงปลอดกัยมีค่าเฉลี่ย 3.71 และ (2) พนักงานธนาคารพาณิชย์ไทยที่มีปัจลัยประชากรคาสตร์ด้านอายุ ด้านสังกัดธนาคาร ด้าน ระยะเวลาที่ปฏิบัติงาน และด้านสถานภาพ ที่แตกต่างกัน มีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนปัจจัยประชากรศาสตร์ด้านเพศ ด้านตำแหน่งงานและระดับการศึกษา ที่แตกต่างกัน มีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานไม่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.195 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ธนาคารไทยพาณิชย์--พนักงาน | th_TH |
dc.subject | การจูงใจในการทำงาน | th_TH |
dc.title | แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน กรณีศึกษาธนาคารพาณิชย์ไทย ในเขตกรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | Job performance motivation of staffs : a case study of Thai Commercial Bank in Bangkok Metropolis | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2007.195 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.195 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this researched were (1) to study the level of job performance motivation and (2) to study demographic characteristics job performance motivation The research sample comprised 400 Thai commercial bank employees sampling purposively from the population of 40,282 employees of 9 Thai commercial banks located in Bangkok Metropolis. Research data were collected using questionnaire covering demographic characteristics, and job performance motivation. Data collected were analyzed using SPSS computer program with the statistics of percentage, means, standard deviation, t-test and one-way analysis of variance (ANOVA). Scheffe's method was also used for testing some difference of data. The results indicated that (1) the overall motivation of Thai commercial bank employees' level was rated "average” for 9 levels. The “highest" was for Interpersonal-relations with X = 3.59 whereas the "lowest" was for salary or wage with X = 2.80 and whereas “high" for 2 levels : job successful achievement with X = 3.91 and job security with X - 3.72. and (2) the Thai commercial bank employees* differences in ages, job placement, period of performance and marital status were significantly different at the level of 0.05 whereas the differences in sex, job assignment and education level didn't affect the level of motivation. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ประเสริฐ สุทธิประสิทธิ์ | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | ณรงค์ศักดิ์ ธนวิบูลย์ชัย | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Manage-Theses |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
108706.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 8.75 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License