Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5989
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอายุมงคล แสนปัญญา, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-15T06:20:20Z-
dc.date.available2023-05-15T06:20:20Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5989-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพพื้นฐานของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร 2) ปัจจัยที่เกี่ยวกับการทำงานของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร 3) ประสิทธิภาพการทำงาน ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร 4) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพการทำงานของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร 5) ปัญหา และข้อเสนอแนะ ในการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร ผลการวิจัยพบว่า 1) เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรร้อยละ 53.7 เป็นเพศชาย ส่วนมาก มีอายุระหว่าง 51-60 ปี โดยมีอายุเฉลี่ย 48.10 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ดำรงตำแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 34,604.59 บาท มีประสบการณ์ทำงานที่อื่นก่อนมารับราชการที่กรมส่งเสริมการเกษตรเฉลี่ย 1.95 ปี มีอายุราชการเฉลี่ย 24.12 ปี มีจำนวนครัวเรือนที่รับผิดชอบเฉลี่ย 1,216.40 ครัวเรือน มีระยะทางไกลสุดระหว่างสำนักงานถึงพื้นที่ที่รับผิดชอบ เฉลี่ย 30.45 กิโลเมตร และใช้เวลาเดินทางเฉลี่ย 28.14 นาที 2) การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวกับการทำงานพบว่า เจ้าหน้าส่งเสริมการเกษตรมีความรู้ความเข้าใจในการทำงานในระดับมาก มีความคิดเห็นในการทำงานในระดับปานกลาง มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในระดับมาก มีความศรัทธาต่อผู้นำอยู่ในระดับปานกลาง และมีความคิดเห็นต่อการจัดฝึกอบรมในระดับปานกลาง 3) การศึกษาประสิทธิภาพการทำงานของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร พบว่า ประสิทธิภาพการทำงานโดยรวมของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรอยู่ในระดับมาก โดยพิจารณารายด้านแล้วปรากฏว่า เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรมีประสิทธิภาพการทำงานในระดับมากทุกด้าน ได้แก่ ด้านการถ่ายทอดความรู้ ด้านการให้บริการ ด้านการปฏิบัติงานตามนโยบาย และด้านการประสานงาน 4) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพการทำงานของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรเชิงบวก ได้แก่ อายุราชการ ความรู้ความเข้าใจในการทำงาน ความคิดเห็นในการทำงาน ความศรัทธาต่อผู้นำ และการฝึกอบรม และมี 1 ปัจจัย ที่มีความสัมพันธ์เชิงลบคือ จำนวนครัวเรือนที่รับผิดชอบ 5) ปัญหาในการทำงานของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร ได้แก่ ขอบเขตงานไม่ชัดเจน และมีข้อจำกัดด้านงบประมาณ ส่วนข้อเสนอแนะ ได้แก่ ควรสนับสนุนงบประมาณให้เพียงพอต่อการทำงานในพื้นที่ และ นโยบายต้องมีความชัดเจนไม่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.uridoi.org10.14457/STOU.the.2016.90-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการส่งเสริมการเกษตร--ไทย (ภาคเหนือ)th_TH
dc.titleปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพการทำงานของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรในเขตภาคเหนือตอนบนth_TH
dc.title.alternativeFactors relating to performance of agricultural extension officers in the Upper Northernen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2016.90-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) demographics of agricultural extension officers in the upper northern region; 2) factors related to their work; 3) their work performance; 4) factors related to their work performance; and 5) problems and recommendations for increasing their work performance. The study population was 538 agricultural extension officers in the upper northern region, out of which a sample population of 229 was chosen through multi-level sampling. The data collection tool was a questionnaire. Data were statistically analyzed using frequency, percentage, mean, maximum, minimum, standard deviation and multiple regression analysis. The results showed that 1) 53.7% of the samples were male, most in the 51-60 age range (mean age 48.10), educated to bachelor’s degree level, and held the position of expert level agricultural extension academic. Their mean income was 34,604.59 baht a month. They had on average of 1.95 years experience working somewhere else before joining the Agriculture Department. Their average years of work service were 24.12. They were responsible for on average 1,216.40 households in their work area. On average, the furthest distance from their office to their area of responsibility was 30.45 km, with an average travelling time of 28.14 minutes. 2) For factors related to their work, most officers had a high level of knowledge about their work; a medium level opinion about their work; a high level of incentive for achievement; a medium level of faith in their leaders; and a medium level opinion about training they had received. 3) Overall, their work performance was rated at high level. The average scores were high level for all topics, including knowledge transfer, service provision, following work policies, and coordination. 4) The factors that were positively correlated to work performance were years of service, knowledge about work, opinion of work, faith in leaders, and training. Only one factor was negatively correlated to work performance, and that was number of households in the officer’s area of responsibility. 5) The problems encountered by agricultural extension officers were lack of clarity of the boundaries and extent of their work responsibilities and budget limitations. Their recommendations for improvement were allocation of a sufficient budget for the work required in their area, and greater clarity and continuity in work policies.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156048.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.7 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons