Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5996
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศุภพิชญ์ บุญทั่ง, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-15T07:11:27Z-
dc.date.available2023-05-15T07:11:27Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5996-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพพื้นฐานส่วนบุคคล สังคม และเศรษฐกิจของเกษตรกร 2) สภาพการผลิตมะม่วงนํ้าดอกไม้ของเกษตรกร 3) ปัญหาและข้อเสนอแนะของเกษตรกร 4) ความต้องการการส่งเสริมการผลิตมะม่วงนํ้าดอกไม้ของเกษตรกร ผลการวิจัยพบว่า (1) เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย 49.98 ปี มีประสบการณ์การผลิตมะม่วงนํ้าดอกไม้เฉลี่ย 11.84 ปี มีขนาดพื้นที่ปลูกมะม่วงนํ้าดอกไม้เฉลี่ย 14.6 ไร่ ให้ผลผลิตแล้วเฉลี่ย 12.33 ไร่ เป็นพื้นที่ของตนเองและมีเอกสารสิทธิ์เป็นโฉนด น.ส.3 ก. และ ส.ป.ก.4-01 ตามลำดับ เกษตรกรร้อยละ 99.3 เป็นสมาชิกสถาบันเกษตรกร ร้อยละ 71.1 เป็นสมาชิกวิสาหกิจชุมชน เกษตรกรมีรายได้จากการขายมะม่วงนํ้าดอกไม้เฉลี่ย 150,879 บาท/ปี หรือ 12,236.74 บาท/ไร่ คิดเป็นกำไรเฉลี่ย 5,138.44 บาท/ไร่ มีรายจ่ายจากการผลิตมะม่วงนํ้าดอกไม้เฉลี่ย 87,522 บาท/ปี และมีรายจ่ายค่าต้นทุนรวมเฉลี่ย 40,984.52 บาท/ไร่/ปี (2) สภาพทั่วไปในการผลิตพบว่าเกษตรกรมีการปฏิบัติด้านการเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวเป็นอันดับแรก รองลงมาคือการดูแลรักษาในระยะให้ผลผลิต การกำจัดโรคและแมลง การดูแลรักษาในระยะต้นเล็ก และการปลูก ตามลำดับ ส่วนการปฏิบัติตามเกษตรที่ดีและเหมาะสม (GAP) พบว่าเกษตรกรปฏิบัติในระดับมากทุกประเด็น ยกเว้นการบันทึกข้อมูลแหล่งที่มาของปัจจัยการผลิต การสำรวจศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด ที่พบกว่าเกษตรกรปฏิบัติในระดับน้อย (3) ปัญหาของเกษตรกรในภาพรวมพบว่ามีปัญหาเรื่องโรคและแมลง ต้นทุนการผลิตสูง และราคาผลผลิตไม่ชัดเจนอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนข้อเสนอแนะ คือ เกษตรกรต้องการให้ภาครัฐหาตลาดรองรับผลผลิตที่มั่นคงและจัดตั้งศูนย์รวบรวมผลผลิตเพื่อการจำหน่ายโดยไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง (4) เกษตรกรได้รับความรู้ในการส่งเสริมการผลิตมะม่วงนํ้าดอกไม้ระดับมากในประเด็นการกำจัดโรคและแมลง การเก็บเกี่ยวและปฏิบัติหลังเก็บเกี่ยว และการดูแลรักษา เกษตรกรมีความต้องการเนื้อหาอยู่ในระดับมากและมากที่สุดทุกประเด็น ได้แก่ การตลาด โรคและแมลง และการปฏิบัติตามเกษตรที่ดีและเหมาะสม (GAP) เกษตรกรต้องการสื่อบุคคลราชการเป็นอันดับแรก รองลงมาคือ แผ่นพับ และคู่มือ ตามลำดับ ส่วนอันดับสุดท้ายคืออินเตอร์เน็ต และต้องการวิธีการส่งเสริมด้วยวิธีการฝึกปฏิบัติเป็นอันดับแรก รองลงมาคือการบรรยาย การสาธิต และการทัศนศึกษา ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมะม่วงน้ำดอกไม้--การผลิตth_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--พิษณุโลกth_TH
dc.titleการส่งเสริมและพัฒนาการผลิตมะม่วงน้ำดอกไม้ของเกษตรกรในอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลกth_TH
dc.title.alternativeThe extension and development of Nam Dok Mai Mango production of farmers in Wang Thong District of Phitsanulok Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) socio-economic and fundamental individual personal condition of farmers (2) farmers condition of Nam Dok Mai Mango production (3) problems and recommendations of farmers (4) the extension needs of Nam Dok Mai Mango production by farmers in Wangthong District, Phitsanulok Province. Research population was a number of 400 Nam Dok Mai Mango farmers in Wangthong District, Phitsanulok Province. By simple random sampling, 135 farmers were selected to be the sample group. Data was collected by interview form and analyzed by computer program. In data analysis, statistics used included frequency, percentage, minimum value, maximum value, mean, standard deviation and ranking. Results from the study were as follows: (1) The average age of farmers was 49.98 years. Their average experience in Nam Dok Mai Mango production was 11.84 years. In their owned land, the average area for growing mango was 14.6 rai, the average area for production mango was 12.33 rai and they had document of title as N.S. 3 K and sor por kor. 4-01, respectively. In addition, 99.3% of them were members of agricultural institutes and 71.1 % belong to community enterprise group. Their average revenue from Nam Dok Mai Mango production was 150,879 baht/year or 12,236.74 baht/rai and average expenditure was 87,522 baht/year gaining profit 5,138.44 baht/rai averagely and the total cost was 40,984.52 baht/rai/year. (2) The general condition of production was that the farmers performed harvesting and postharvest practices first and the second was the maintenance of the yield, eradication of pests, prevention and eradication. (3) Disease and insect, high cost of production, and product price were farmers’ problems. The study recommends that the government should provide a secure marketplace for farmers and establish a commercial center for their retail distribution without any involvement of middlemen. (4) Farmers have a high level of content requirements and most of all issues, extension needs in marketing, disease and insect and good agricultural practice (GAP). Requested media was namely individual media from official body, brochure and manual, the last one is the Internet. Proposed extension channels were workshop for real practice, lecture, demonstration and study visit respectively.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
159317.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.7 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons