Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6006
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนชัย ยมจินดาth_TH
dc.contributor.authorบูรณะศักดิ์ มาดหมายth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-15T08:47:12Z-
dc.date.available2023-05-15T08:47:12Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6006en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาทัศนคติของเจ้าหน้าทีหน่วยงานในสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรมด้านข่าวสารข้อมูล ด้านความสำคัญและความจำเป็น ตลอดจนผลกระทบทีจะได้รับจากการดำเนินการจัด การพลังงานในอาคารของภาครัฐ (2) ศึกษาปัจจัยที่ทำให้การดำเนินการจัดการพลังงานในอาคารของภาครัฐของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรมประสบผลสำเร็จ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยการจัดการหลังงานกับผลกระทบที่ได้รับจากการจัดการพลังงานในอาคารของภาครัฐและ (4) ศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการปฎิบัติที่เหมาะสมสอดคลัองของการจัดการพลังงานสามารถนำมากำหนดเป็นแผนงานการดำเนินการการจัดการหลังงานในอาคารของภาครัฐที่มีประสิทธิภาพการวิจัยครั้งนี่เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษา คือ เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรมที่มีการดำเนินการกิจกรรมการประหยัดพลังงาน และเป็นบุคคลหลักทีดำเนินการโครงการประหยัดพลังงานจำนวน 60 คนโดยใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่ารัอยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน กาวทดสอบที การทดสอบเอฟ่ การทดสอบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ ไคสแคว์ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า (1) ทัศนคติของเจ้าหน้าที่ต่อการดำเนินการการจัดการพลังงานในอาคารของภาครัฐภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยและเมื่อพิจารณาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กัน พบว่า เจ้าหน้าที่เห็นด้วยต่อด้านความสำคัญและจำเป็นของการดำเนินการการจัดการพลังงานในอาคารของภาครัฐเป็นอันดับหนี่ง รองลงมา คือ ด้านการดำเนินการ ด้านปัจจัยที่ทำให้การดำเนินการจัดการพลังงานประสบผลสำเร็จ ด้านผลกระทบที่หน่วยงานและเจ้าหน้าทีหน่วยงานได้รับจากการดำเนินการ ด้านการพัฒนาการดำเนินการ และด้านข่าวสารข้อมูลการดำเนินการตามลำดับ (2) ด้านปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า มีเพียง ปัจจัยระดับตำแหน่งเท่านั้น ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 05 สำหรับเพศ อายุ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา วุฒิการศึกษาสาขา ตำแหน่งงานทีทำงานปัจจุบัน ระยะเวลาทีรับราชการ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) ผลการหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยของการจัด การหลังงานกับผลกระทบ ที่ได้รับจากการดำเนินการจัดการหลังงานในอาคารของภาครัฐ พบว่ามีเพียงด้านการ พัฒนาการดำเนินการและด้านการดำเนินการ เท่านั้นที่มีความสัมพันธ์กับผลกระทบที่ได้รับจากการดำเนินการจัด การพลังงานในอาคารของภาครัฐอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่ปัจจัยด้านข่าวสารข้อมูล ด้านความสำคัญและ จำเป็นและด้านปัจจัยที่ทำให้ประสบผลสำเร็จไม่มีความสัมพันธ์กับผลกระทบที่ใด้รับจากการดำเนินการจัดการพลังงานในอาคารของภาครัฐth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.159en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกระทรวงอุตสาหกรรม--พนักงาน--ทัศนคติth_TH
dc.titleทัศนคติของเจ้าหน้าที่หน่วยงานในสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม ต่อการดำเนินการการจัดการพลังงานในอาคารของภาครัฐth_TH
dc.title.alternativeAttitude of officers in Ministry of Industry toward the energy management implementation at government buildingsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.159-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.159en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the attitude of officers in Ministry of Industry in term of the information, significance and necessity and also effects toward the energy management implementation at government buildings:(2) to study factors relating to the success of the implement:(3) to study relationship between energy management factors and effects of the implementing; and (4) to study suggestion relating best practical energy management in order to apply the efficient energy plan at government building This study was descriptive research. The studied samples used were 60 officers in Ministry of Industry who had the key role of energy conservation projects by using the questionnaires, the statistics used included percentage,mean,standard deviation,t-test, F-test,least significant differenceiLSD), Chi-Square and content analysis. The result of the study revealed that:( I )the overall attitude of officers toward the energy management implementation at government buildings was at the “agree”level. After analyzing relating factors, it has been discovered that opinions regarding the the critical and necessity in the energy management implementation at government buildings was the most significance followed by implementation of energy management activities,the success of such energy management ,and opinion regarding effects froni these implements, development of the energy management activities ,and news and information of these implements respectively; (2) factors relating to the success of the implement was only level of position had a very large variation on attitude at the statistically significant level of .05. However,sex,age.marriage,status,level of eduction,major of study, the current position, and the length of working time in Ministry of Industry did not have any variations on attitude at level of significance of .O5.:(3)the correlation of Energy management factors related to effects toward the energy management implementation at government buildings was that there was only the opinion regarding development and implementation the energy management activities which were found to be significantly related at the .05 level of confidence. However, information, significance and necessity and effects toward the energy management implementation at government buildings did not significantly related at the .05 level of confidence. (4)the study suggestion was that the governments must be promote news and information.knowledge,energy management policies, and push continuous implementation of energy conservation projects ,set up the standard energy management manual, create the working group and clarified the structure of energy management team, action plan and clearness evaluation.en_US
dc.contributor.coadvisorประเสริฐ สุทธิประสิทธิ์th_TH
dc.contributor.coadvisorฌรงค์ศักดิ์ ธนวิบูลย์ชัยth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108709.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons