Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/600
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเยาวภา ปิ่นทุพันธ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอดิศักดิ์ สัตย์ธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกิตติธร คุปตาภิวัฒน์, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-13T08:00:44Z-
dc.date.available2022-08-13T08:00:44Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/600-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาประสิทธิภาพในการลดความเข้มข้นของไอตะกั่ว หาขนาดแผ่นกรองที่เหมาะสม หาจุดอิ่มตัวของการดูดซับ และศึกษาความเป็นไปไต้ในการทำแผ่นกรองไอตะกั่วในเชิงพาณิชย์ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง โดยนำเอาวัสดุทางธรรมชาติ ได้แก่ กะลามะพร้าว ชนิดมะพร้าวห้าวและมะพร้าวกะทิ ไปเผาที่อุณหภูมิสูง เพื่อทำการปลุกฤทธิ์เป็นถ่านกัมมันต์ และใช้แบบจำลอง สำหรับผลิตมลพิษชนิดไอตะกั่ว แล้วทดลองเพื่อหาประสิทธิภาพในการลดความเข้มข้นของไอตะกั่วที่ความหนาของชั้นกรอง 2.5 ซม. 2.0 ซม. 1.5 ชม. และ 1.0 ซม. ตามลำดับจากนั้นทดลองหาจุดอิ่มตัวของชั้นกรอง และทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ โดยคิดในรูปของการลดค่าความเข้มข้นของไอตะกั่ว และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า ค่าความเข้มข้นของไอตะกั่วที่ได้จากแบบจำลองมีคำคงที่ โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 0.550 ug. การเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการลดความเข้มข้นของไอตะกั่วด้วยชั้นกรองพบว่า ถ่านกัมมันต์ที่ได้จากกะลามะพร้าวห้าวมีประสิทธิภาพดีกว่าถ่านกัมมันต์ที่ได้จากกะลามะพร้าวกะทิ คิดเป็นร้อยละ 1.63 จากการทดลองหาขนาดของชั้นกรองพบว่า ชั้นกรองที่มีประสิทธิภาพในการลดความเข้มข้นดีที่สุดคือ 2.5 ซม. โดยมีประสิทธิภาพในการลดความเข้มข้นร้อยละ 58.9 รองลงมาก็คือชั้นกรองที่มีความหนา 2.0 ซม. มีประสิทธิภาพในการลดความเข้มข้นร้อยละ 56.2 ชั้นกรองที่มีความหนา 1.5 ซม. มีประสิทธิภาพในการลดความเข้มข้นร้อยละ 52.1 และชั้นกรองที่มีความหนา 1.0 ซม. มีประสิทธิภาพในการลดความเข้มข้นร้อยละ 45.4 ตามลำดับ ในส่วนของการหาจุดอิ่มตัว พบว่า ณ ชั่วโมงที่ 1 ชั้นกรองที่มีความหนา 2.5 ซม. มีประสิทธิภาพในการลดความเข้มข้นของไอตะกั่วเท่ากับร้อยละ 42.9 ชั่วโมงที่ 2 เท่ากับร้อยละ 46.0 ชั่วโมงที่ 3 เท่ากับร้อยละ 41.2 ชั่วโมงที่ 4 เท่ากับร้อยละ 36.7 ชั่วโมงที่ 5 เท่ากับร้อยละ 39.8 ชั่วโมงที่ 6 เท่ากับร้อยละ 35.1 ชั่วโมงที่ 7 เท่ากับร้อยละ 33.6 ชั่วโมงที่ 8 เท่ากับร้อยละ 36.7 และชั่วโมงที่ 9 เท่ากับร้อยละ 24.3 ทั้งนี้ ณ ชั่วโมงที่ 8 และชั่วโมงที่ 9 พบว่ามีความแตกต่างกันมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2004.259-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectถ่านกัมมันต์th_TH
dc.subjectตะกั่วth_TH
dc.subjectกะลามะพร้าว--การใช้ประโยชน์th_TH
dc.titleการเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการลดความเข้มข้นของไอตะกั่วของถ่านกัมมันต์ที่ได้จากกะลามะพร้าวth_TH
dc.title.alternativeThe comparison of lead vapour reduction efficiency using activated carbon gained from coconut shellth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2004.259-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารสาธารณสุข)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was compare efficiency to reduce lead vapor, finding sizing of filter and saturation of absorption. The research was an experimental research by natural equipment that make from coconut shell and bring it to burning at high temperature to change to activated carbon and apply lead vapor model to finding in efficiency at filter dimension 2.5 cm., 2.0 cm., 1.5 cm. and 1.0 cm. and finalize with saturation period by vary hour. The result show that lead vapor from model are stable and maintain average at 0.550 ug. Efficiency to reduce lead vapor between coconut shell it show activated carbon from coconut better than coconut cream at 58.909% at filter thickness 2.5 cm., filter thickness that can get the best efficiency 2.5 cm./58.909% second 2.0 cm./56.251%, 1.5 cm./59.191%, 1.0 cm./45.405% and saturation point with vary hour are hour 1:42.921% hour 2:41.011% hour 3:41.285% hour 4:36.740% hour 5:39.830% hour 6:35.104% hour 7 :33.650% hour 8:36.740% hour 9:24.379% and between hour 8 and 9 are mostly differenten_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
84173.pdfเอกสารฉบับเต็ม3 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons