Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/601
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพร พุทธาพิทักษ์ผลth_TH
dc.contributor.authorวนิดา นเรธรณ์, 2517-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-13T08:03:20Z-
dc.date.available2022-08-13T08:03:20Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/601en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการค้นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์และงานวิจัยของนักศึกษาที่ได้รับการสอนโดยใช้บทเรียนทางเว็บกับนักศึกษาที่ได้รับการสอนตามปกติการวิจัยกึ่งทดลองนี้ ประชากรที่ใช้เป็นนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ชั้นปีที่ 1 ที่ลงทะเบียนเรียน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551 ระดับปริญญาโท จำนวนทั้งหมด 213 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุมโดยกลุ่มทดลองเรียนด้วยบทเรียนทางเว็บ และกลุ่มควบคุมเรียนด้วยการสอนตามปกติ โดยการสุ่มแบบเจาะจงได้นักศึกษาทั้งสิ้น จำนวน 63 คน เครื่องมือที่ไช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย แผนการสอนตามปกติในชั้นเรียนและแผนการสอนโดยใช้บทเรียนทางเว็บแบบทดสอบวัดผลสมฤทธิ์ทางการเรียน มีค่าความยากง่ายระหว่าง .20 - .80 ค่าอำนาจจำแนก .20 ชั้นไป และมีค่าความเที่ยงด้านเนี้อหาเท่ากับ 0.63 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองโดยรวมมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง การค้นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์และงานวิจัยไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งไม่สอดคล้องกับสมมติฐานการวิจัยเมื่อพิจารณาแยกตามวัตถุประสงค์การเรียน พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ รวม 2 ด้าน คือ ด้านผู้เรียนสามารถเลือกฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์และงานวิจัยที่จะค้นได้ และด้านผู้เรียนสามารถแสดงผลการค้นได้ขณะเดียวกันกลุ่มควบคุมมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่ากลุ่มทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 1 ด้าน คือ ด้านผู้เรียนสามารถกำหนดคำค้นได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บth_TH
dc.subjectการค้นคืนสารสนเทศth_TH
dc.subjectวิทยานิพนธ์--ฐานข้อมูลth_TH
dc.titleการพัฒนาบทเรียนทางเว็บเรื่องการค้นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์และงานวิจัยของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of web-based instruction on searching for thesis and research databases by graduate students at Nakhorn Ratchasima Rajabhat Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare learning achievement on searching information dissertation and research for new master’s students in two conditions the Web-based instruction and the conventional classroom teaching approach. The quasi-experiment posttest, nonequivalent control group design research was applied. Sixty-three graduate students at Nakorn Ratchasima Rajabhat University during the first semester of the academic year 2008 were purposively sampled. They were divided into two groups the experimental group who learned with Web-based instruction and one control group who attended the conventional classroom teaching approach. Both teaching conditions applied the same lesson plan and contents as well as the achievement test administered at the end of the teaching. The achievement test had the degree of difficulty ranging between 0.20- 0.80 including the degree of discrimination not less than 0.20 and the KR-21 at 0.63. The statistics used for data analyses were percentage, mean, standard deviation and independent t-test. The results found that there was no significant difference in learning achievement between the experiment and control groups. When each learning objective was taken into consideration, it was found that the experimental group was able to choose databases and display results significantly better than the control group. However, the control group was found to choose better keywords than the experimental one.en_US
dc.contributor.coadvisorพวา พันธุ์เมฆาth_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (7).pdfเอกสารฉบับเต็ม6.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons