Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6023
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิศเพลิน เขียวหวาน | th_TH |
dc.contributor.author | ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-05-16T03:48:04Z | - |
dc.date.available | 2023-05-16T03:48:04Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6023 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการคือ (1) เพื่อศึกษาสถานการณ์ด้านการเงินของโรงพยาบาลของ รัฐ ภายใต้โครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปีงบประมาณ พ.ศ.2548 และ 2549 (2) เพื่อศึกษาการใช้ สัมประสิทธิ์การจัดสรรรายได้ในแต่ละโรงพยาบาล เพื่อส่งเสริมความเท่าเทียมในการกระจายรายได้และลดการ เหลี่อมล้ำของภาวะหนี้ของแต่ละโรงพยาบาล การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้ข้อมูลทางการเงินจากจากโรงพยาบาลของรัฐ จำนวน 807 แห่ง (ทั้งจำนวนประชากร) โดยตัดโรงพยาบาลที่มีข้อมูลไม่ครบถ้วนออกจำนวน 196 แห่ง และตัดโรงพยาบาลที่ มีข้อมูลรัอยละของการได้รับเงินในโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปี 2548 และ 2549 ต่างกันมากกว่า 2 เท่า ของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอีกจำนวน 33 แห่ง เหลือข้อมูลในการคำนวณ จำนวน 578 แห่ง และสรัางผลการทำนาย ภาวะขาดทุน-ไม่ขาดทุนในปื 2549 โดยใช้สมการถดถอยเชิงเส้นแบบหลายตัวแปรและคัดเลือกตัวแปรโดยวิธี stepwise จากนั้นนำค่าที่ได้จากสมการมาคำนวณต่อเป็นค่าสัมประสิทธิ์การจัดสรรรายได้โดยใช้สูตร ค่า สัมประสิทธิ์การจัดสรรรายได้ มีค่าเท่ากับ 1.5 ลบตำแหน่งของการขาดทุน-ไม่ขาดทุนในรูปแบบเปอร์เซ็นไทค์ แล้วนำไปทดสอบความสามารถในการทำนายการลดภาวะการขาดทุนอีกครั้งในข้อมูลปี 2549 แต่เนื่องจากข้อมูล รายรับในส่วนของโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้ามีไม่ครบถ้วน จึงได้ทำการสรัางข้อมูลบางส่วนของโครงการ ประกันสุขภาพถ้วนหน้าแล้วนำมาคำนวณภาวะขาดทุน-ไม่ขาดทุนก่อนและหลังการจัดสรรโดยอาศัย สัมประสิทธิ์การจัดสรรรายอีกครั้ง ผลการวิจัยพบว่า (1) เมื่อเปรียบเทียบระหว่างปี 2548 และ 2549 ได้ผลดังนี้มีจำนวนรพ.ที่ขาดทุน มากขึ้น มีจำนวนรพ.ที่ไม่ขาดทุนลดลง ภาวะขาดทุนรวมมากขึ้น การได้กำไรลดลงและในภาพรวมพบว่าขาดทุน เพิ่มจาก 5,442,515,358 บาท เป็น 7,549,762,280 บาท (2) ค่าสัมประสิทธิ์การจัดสรรรายได้มีค่าระหว่าง 0.502 ถึง 1.5 โดยตํ่าสุดที่โรงพยาบาลตราด และ โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราชสูงสุดทื่โรงพยาบาลอุดรธานี จากการเปรียบเทียบก่อนและหลังการใช้ค่าสัมประสิทธิ์การจัคสรรรายได้ พบว่า ภายหลังการใช้สัมประสิทธิ์การ จัดสรรรายได้ สามารถลคการขาดทุนรวมจาก 3,615,983,529.30 บาท เป็น 2,421,592,181.73 บาท (เหลือรัอยละ 66.97) ลดการขาดทุนเฉลี่ยของโรงพยาบาลที่ขาดทุนจาก 41,090,721.92386 บาท เป็น 26,906.579.79702 บาท (เหลือรัอยละ 65 48) ลดปริมาณการขาดทุนของโรงพยาบาลสูงสุดลดจาก 441,887,716.94000 บาท เป็น 276,242,607.94 บาท (เหลือรัอยละ 62.51) และมีจำนวนโรงพยาบาลที่ขาดทุนเปลี่ยนจาก 88 แห่งเป็น 90 แห่ง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.272 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | โครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า--แง่เศรษฐกิจ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ประกันสุขภาพ--ค่าใช้จ่าย.--ไทย | th_TH |
dc.title | การลดภาวะขาดทุนของโรงพยาบาลของรัฐในโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าโดยใช้สัมประสิทธิ์การจัดสรรรายได้ | th_TH |
dc.title.alternative | Reduction of financial loss of government hospitals under universal coverage policy by using the distribution co-effcient technique | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2008.272 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.272 | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The study were aimed to : (1) study the financial status of all government hospitals which were under the Universal Coverage Policy in the fiscal year 2005- 2006; and (2) study the implementation of co-efficient of per capita budget distribution factor to enhance the faimess of budget distribution and reduce debt overlapping of each hospital. This study was a quantitative research. The 2005-2006 financial data of all government hospitals (807 hospitals) was used. Among them, 196 and 33 hospitals were excluded due to their incomplete data and the large differences, or more than 2 times of standard deviation, of percentage data of the Universal Coverage (UC) finding. Totally, eligible 587 hospitals were included in the study. The financial loss- profit value of each hospital was estimated by using the multivariate linear regression technique and then constructed the co-efficient of per capita budget distribution factor based on the equation of 1.5 minus the percentile of predicted loss-profit value The result of this technique was then assessed by applying the co-efficient to 2006 Universal Coverage budget to estimate and compare the budget between before and after applying this co-efficient. Due to incompleteness of the actual income data, part of the data was constructed, then once again calculated loss and un-loss status before and after applying the co-efficient. The results showed that ะ (1) between 2005 and 2006, the number of hospital with positive financial balance decreased and the number of hospital with negative financial balanced increased,and tthis resulted in the increase of total loss and reduction of total unit profit. Total loss increases from 5,442,515,358 baht to 7,549,762,280 baht; (2) the co-efficient of per capita budget distribution factor ranged from 0.502 to 1.5; the lowest ones was Trat hospital and Maharaj Nakom Si Thammarat hospital whereas the highest one was Udon Thani hospital. The comparison of hospital income before and after applying the co-efficient of per capita budget distribution factor to the UC individual budget indicated that the loss decreased from 3,615,983,529.30 baht to 2,421,592,181.73 baht (66.97%), and the average of hospital loss decreased from 41,090,721.92386 baht to 26,906,579.79702 baht (65.48 %). The maximum loss reduced from 441,887,716.94000 baht to 276,242,607.94 baht which accounted for 62.51%, and the number of hospital with financial loss changed from 88 to 90 hospitals | en_US |
dc.contributor.coadvisor | วราภรณ์ รุ่งเรืองกลกิจ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
109959.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 9.06 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License