Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6084
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิรนาท แสนสา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorราชาวดี เพชรรัตน์, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-22T06:14:26Z-
dc.date.available2023-05-22T06:14:26Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6084-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาระดับการปฏิบัติงาน เจตคติต่อการทำงาน ความต้องการฝึกอบรม และแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธ์ิของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินใน 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ (2) เพื่อเปรียบเทียบการปฏิบัติงานของบุคลากรจำนแกตาม เพศ อายุ การศึกษา อายุการทำงาน และสถานที่ทำงานปัจจุบัน และ (3) เพื่อศึกษาอำนาจทำนายการปฏิบัติงาน จากปัจจัยด้านเจตคติต่อการทำงาน ความต้องการฝึกอบรม และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย เป็นบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 370 คน สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล เจตคติต่อการทำงาน ความต้องการฝึกอบรม แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ สถิติที่ใช้คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีระดับการปฏิบัติงาน เจตคติต่อการทำงาน ความต้องการฝึกอบรม และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์โดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) บุคลากรที่มีอายุ การศึกษา และสถานที่ทำงานปัจจุบันต่างกัน มีระดับการปฏิบัติงานแตกต่างกัน และ (3) ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ ปัจจัยด้านความต้องการฝึกอบรม และปัจจัยด้านเจตคติต่อการทำงาน อย่างมีนัย สEคัญทางสถิติที่ระดUบ .05 โดยสามารถร่วมกันทำนายการปฏิบัติ งานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้ร้้อยละ 18.00 %th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการปกครองท้องถิ่น--ข้าราชการและพนักงาน--การฝึกอบรมในงานth_TH
dc.subjectแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์th_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยด้านเจตคติต่อการทำงาน ความต้องการการฝึกอบรมและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้th_TH
dc.title.alternativeThe attitude towards work, needs for training and achievement motivation factors affecting work performance of local administration organization personnel in the three southern border provincesth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2017.22-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the levels of work performance, attitude towards work, needs for training, and achievement motivation of local administration organization personnel in the three southern border provinces; (2) to compare levels of work performance of the personnel as classified by gender, age, educational level, work duration, and current workplace; and (3) to study the power of predicting work performance of the personnel using the factors of attitude towards work, needs for training, and achievement motivation as predicting factors. The research sample consisted of 370 personnel of local administration organizations in the three southern border provinces, obtained by stratified random sampling. The employed research instrument was a questionnaire on personal background, attitude towards work, needs for training, achievement motivation, and work performance of local administration organization personnel in the three southern border provinces. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA, and multiple regression analysis. The research findings showed that (1) the local administration organization personnel in the three southern border provinces had overall levels of work performance, attitude towards work, needs for training, and achievement motivation at the high level; (2) the personnel with different ages, educational levels, and current workplaces differed significantly in their levels of work performance; and (3) the factors affecting work performance of local administration organization personnel in the three southern border provinces were the needs for training factor, and attitude towards work factor, both of which were significant at the .05 level, and they could be combined to predict work performance of local administration organization personnel in the three southern border provinces by 18.00 percent.-
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_155395.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.01 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons