Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/608
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรสสิน ศิริยะพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorรุ่งพงษ์ ชัยนาม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมาณพ ขาวสะอาด, 2500--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-13T08:37:47Z-
dc.date.available2022-08-13T08:37:47Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/608-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี่มวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดการแก้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองของพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยูตุโต) ผลการวิจัยพบว่า แนวดีดการแก้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง ของพระพรหมคุฌาภรฌ์(ป.อ.ปยุตุโต) คือ (1) แนวคิดทางหลักพุทธศาสนา 2 ประการคือ (1.1) หลักการแบบอริยสัจ เริ่มจากการรู้ถึงสภาพปัญหาความขัดแย้ง สาเหตุของความขัดแย้งสภาวะของความหลุดพ้นจากความขัดแย้ง และแสวงหาหนทางที่จะปฏิบัติเพื่อหลุดพันจากความขัดแย้งดังกล่าว และ (1.2) หลักการมัชฌิมาปฏิปทา คือ การยึดหลักความเป็นกลางบนความถูกต้องไม่เอนเอียงหรือยึดมั่นถือมั่นแต่ความคิดของตนเพียงอย่างเดียว ต้องพร้อมที่จะยึดหลักการที่เป็นธรรมอย่างแท้จริง (2) แนวคิดทางหลักสังคมศาสตร์คือ การยึดหลักประชาธิปไตยและความขัดแย้งในสังคม ซึ่งเห็นว่าความขัดแย้งเป็นเรื่องธรรมดา แต่จะต้องใช้ประโยชน์จากความขัดแย้งโดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น สร้างเสริมความรู้ สร้างสรรค์สิ่งที่จะเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม และ (3) แนวดิดทางวิทยาศาสตร์ คือ แนวทางการตัดสินใจด้วยหลักการเหตุผล และหลักการแยกความจริงกันค่านิยมออกจากกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourcereformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectศาสนากับการเมืองth_TH
dc.subjectพุทธศาสนากับการเมืองth_TH
dc.subjectความขัดแย้งทางการเมืองth_TH
dc.titleแนวคิดการแก้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองของพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)th_TH
dc.title.alternativePolitical conflict solution concept of Phra Brahmagunaphorn (P.A. Payutto)en_US
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study investigates the concept of political conflict solution in the view of Phra Brahmagunabhom (P.A. Payutto). This was a qualitative research using documentation from Phra Brahmagunabhom’s writings, lectures, and papers from seminars, including political papers written by other Buddhist monks in Thailand. Data analysis employed content analysis and descriptive writing. Findings revealed that there were three major concepts of Phra Brahmagunabhom (P.A. Payutto) for political conflict solution. Firstly, there are two Buddhist principles of 1) Ariyasaj (the Four Noble Truths) concerning understanding the state of the conflict, causes of the conflict, the state of cessation, and ways of emancipation; and 2) Machchimapatipatha (the Middle Path) concerning adherence to the righteousness of Dharma, refraining from bias or a one- sided view of the conflict, and non attachment to self-centeredness. Secondly, the sociological concept of democracy that sees conflicts as a natural occurrence that can be of benefit by promoting an exchange of views and learning, and can contribute to creative solutions for societal improvement. Lastly, it was found that his view was also scientific, basing decisions on reasoning and differentiation of facts from values.en_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118817.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.87 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons