Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6093
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธีระศักดิ์ ไชยสัตย์, 2534--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-23T02:22:01Z-
dc.date.available2023-05-23T02:22:01Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6093-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนมัธยมขยายโอกาส จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานกับเกณฑ์ร้อยละ 70 และ 2) เปรียบเทียบความสามารถในการคิด เชิงผลิตภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่่ี 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานกับเกณฑ์ ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 20 คนของโรงเรียนธนาคารออมสิน ซึ่งอยู่ในกลุ่มโรงเรียนขยายโอกาส จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปีการศึกษา 2560 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ที่่จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน วิชาเคมีชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง อะตอมและโครงสร้างอะตอม 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาเคมี และ 3) แบบประเมินทักษะและคุณลักษณะในการคิดเชิง ผลิตภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัย ปรากฏว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ความสามารถในการคิดเชิงผลิตภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการเรียนรู้--แบบจำลองth_TH
dc.subjectเคมี--แบบจำลองth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีและความสามารถในการคิดเชิงผลิตภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนมัธยมขยายโอกาส จังหวัดประจวบคีรีขันธ์th_TH
dc.title.alternativeThe effects of using the model-based learning management on Chemistry learning achievement and productive thinking ability of Mathayom Suksa IV students of expansion secondary schools in Prachuap Khiri Khan Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2017.64-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to compare chemistry learning achievement of Mathayom Suksa IV students of expansion secondary schools in Prachuap Khiri Khan Province, who learned under the model-based learning management, with the 70 percent of full score criterion; and (2) to compare productive thinking ability of Mathayom Suksa IV students of expansion secondary schools in Prachuap Khiri Khan Province, who learned under the model-based learning management, with the 70 percent of full score criterion. The research sample consisted of 20 Mathayom Suksa IV students in Thanakan Omsin School which was one of the expansion secondary school in Prachuap Khiri Khan Province during the academic year 2017. The research instruments were (1) learning management plans for the model-based learning in the chemistry topic of Atom and Atomic Structure, (2) a chemistry learning achievement test, and (3) a productive thinking ability skills and characteristics assessment scale. Data were analyzed using the mean, standard deviation, and t-test. The research findings revealed that (1) chemistry learning achievement of Mathayom Suksa IV students who learned under the model-based learning management was significantly higher than the 70 percent of full score criterion at the .05 level of statistical significance; (2) productive thinking ability of Mathayom Suksa IV students who learned under the model-based learning management was significantly higher than the 70 percent of full score criterion at the .05 level of statistical significance.-
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_156513.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons