Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/609
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวิไล กุศลวิศิษฎ์กุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปาริชาต รัตนราช-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-13T08:39:36Z-
dc.date.available2022-08-13T08:39:36Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/609-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของ หัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี 2) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก กับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ และ 3) ตัวแปรที่ทำนาย สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นพยาบาลวิชาชีพ ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี มีประสบการณ์การทำงานที่โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์อย่างน้อย 1 ปี จำนวน 107 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตรประมาณค่า ประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย 3) ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และ 4) สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดี ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ วิเคราะห์ค่าความเที่ยง ของแบบสอบถาม ส่วนที่ 2, 3 และ 4 ได้เท่ากับ 0.98, 0.98 และ 0.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจง ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และ สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดี มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับสูง (M = 4.11, 4.13 และ 3.93 ตามลำดับ) 2) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง กับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.74 และ 0.67 ตามลำดับ) และ 3) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก สามารถร่วมกันทำนาย สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ได้ร้อยละ 70 (R2 = 0.70) และสร้างเป็น สมการทำนายในรูปของคะแนนดิบได้ดังนี้ สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดี = 0.623 + 0.373 ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย + 0.429 ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.3-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสภาพแวดล้อมการทำงานth_TH
dc.subjectพยาบาลth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting positive practice environment of registered nurses at Sanpasithiprasong Hospital, Ubon Ratchathani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2016.3-
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive study were: 1) to investigate transformational leadership of head nurses, positive psychological capital, and positive practice environment of registered nurse at Sappasitthiprasong Hospital, Ubon Ratchathani Province, 2) to explore the correlation among transformational leadership of head nurses, positive psychological capital, and positive practice environment of registered nurse, and 3) to identify the predictive variables of positive practice environment of registered nurses. The sample comprised 107 registered nurses who worked at Sappasitthiprasong Hospital, Ubon Ratchathani Province for at least 1 year. They were selected by systematic random sampling. Rating scale questionnaires were used as research tools including 4 parts: 1) demographic data, 2) transformational leadership of head nurses, 3) positive psychological capital, and 4) positive practice environment. The questionnaires were tested for validity and reliability. The reliabilities of the second to the forth sections were 0.98, 0.98, and 0.95 respectively. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, median, quartile deviation, Pearson product-moment correlation, and stepwise multiple regression. The major findings were as follows. 1) Transformational leadership of head nurses, positive psychological capital, and positive practice environment were rated at the high level (M = 4.11, 4.13, and 3.93 respectively). 2) Transformational leadership of head nurses and positive psychological capital significantly and highly correlated with positive practice environment at the level 0.01 (r = 0.74 and 0.67 respectively) . 3) Transformational leadership of head nurses and positive psychological capital predicted positive practice environment at the level 0.01. These predictors accounted for 70 % (R2 = 0.700). The predictive equation is constructed as below. Positive Practice Environment = 0.623 + 0.373 transformational leadership of head nurse + 0.429 positive psychological capitalen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext 152054.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.63 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons