Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6117
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปุณญิศา เชาว์ช่างเหล็ก, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-23T07:13:13Z-
dc.date.available2023-05-23T07:13:13Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6117-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพทั่วไป สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร (2) สภาพการผลิตมะม่วง (3) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการใช้เทคโนโลยีการผลิตมะม่วงของเกษตรกร (4) ความต้องการและแนวทางการส่งเสริมการผลิตมะม่วงของเกษตรกร ประชากรที่ศึกษา คือ เกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนผู้ปลูกมะม่วงน้ำดอกไม้กับกรมส่งเสริมการเกษตรในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ จำนวนทั้งหมด 1,230 ราย กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของ Yamane โดยกำหนดระดับความคลาดเคลื่อน 0.07 ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 175 ราย ทำการสุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระดับชั้นอย่างเป็นสัดส่วน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้ ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า (1) เกษตรกรส่วนมากเป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 59.73 ปี จบการศึกษาระดับอนุปริญญา ไม่มีการดำรงตำแหน่งทางสังคม จำนวนสมาชิกในครัวเรือน เฉลี่ย 4.78 คน มีประสบการณ์ในการปลูกมะม่วง เฉลี่ย 23.30 ปี มีจำนวนแรงงานในครัวเรือน เฉลี่ย 3 คน พื้นที่ทำการเกษตรทั้งหมดเฉลี่ย 5.10 ไร่ เป็นพื้นที่ปลูกมะม่วง เฉลี่ย 1.90 ไร่ โดยเป็นพื้นที่ของตนเองและเช่ารายได้จากการจำหน่ายผลผลิตมะม่วงเฉลี่ย (ปี 2561) 14,258.24 บาทต่อไร่ รายจ่ายในการผลิตมะม่วงเฉลี่ย 3,225.28 บาทต่อไร่ ระดับการได้รับข้อมูลข่าวสารทางสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อมวลชนอยู่ในระดับน้อย สื่อกิจกรรมอยู่ในระดับปานกลาง และสื่อบุคคลอยู่ในระดับมาก (2) ลักษณะพื้นที่ปลูกมะม่วงเป็นพื้นที่ลุ่ม มีลักษณะเป็นดินเหนียว โรคที่สำคัญของมะม่วง มักพบโรคแอนแทรคโนส แมลงศัตรูพืชที่สำคัญของมะม่วงที่พบ คือ แมลงวันผลไม้ ใช้สารเบนโนมิลในการกำจัด ผลผลิตเฉลี่ย 456.75 กิโลกรัมต่อไร่ และขายมะม่วงในราคาเฉลี่ย 36.43 บาทต่อกิโลกรัม เกษตรกรมีการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีและเหมาะสมทุกประเด็น (3) เกษตรกรมีการใช้สารเมทิลยูจินอลในการป้องกันแมลงวันทอง ระดับมากที่สุด (4) เกษตรกรมีความต้องการช่องทางในการส่งเสริมจากสื่อบุคคล สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และต้องการวิธีการส่งเสริมแบบทัศนศึกษาในระดับมากที่สุด ข้อเสนอแนะแนวทาง การส่งเสริมการผลิตมะม่วงของเกษตรกรควรมีการช่วยเหลือเกษตรกรในด้านต้นทุนการผลิต เช่น การลดราคาปุ๋ย สารเคมี และอุปกรณ์ที่ใช้ในการเกษตร และให้ความรู้แก่เกษตรกรในเรื่องเทคโนโลยีการผลิตแบบใหม่ ๆ เพื่อเพิ่มจำนวนผลผลิต รวมทั้งเรื่องการตลาดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมะม่วงน้ำดอกไม้--การผลิตth_TH
dc.titleการส่งเสริมเทคโนโลยีการผลิตมะม่วงน้ำดอกไม้ให้มีคุณภาพของเกษตรกรในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการth_TH
dc.title.alternativeExtension technology for producing quality mango. Of farmers in Bang Phli distict Samut Prakarn Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study (1) general, social and economic conditions of farmers (2) mango production conditions (3) problems and suggestions for farmers using mango agricultural extension technology (4) needs and Guidelines for promoting mango production by farmers. The population studied was farmers who registered mango growers with the Department of Agricultural Extension in Bang Phli District. Samut Prakan Province, a total of 1,230 samples were determined using Yamane's formula with a tolerance level of 0.07. 175 samples were sampled using a stratified sampling method. The data were analyzed using a computer program. The statistics used were frequency distribution, percentage, minimum, maximum, mean and standard deviation. The results showed that (1) most of the farmers were male, with an average age of 59.73 years. No social positions The average number of household members was 4.78 people with an average of 23.30 years of experience in mango cultivation, with an average number of 3 household workers, the average total agricultural area of 5.10 rai, with an average mango plantation area of 1.90 rai. By being their own area and renting Revenue from sales of mango production (Year 2018) 14,258.24 baht per rai, average mango production expenditures 3,225.28 baht per rai. And the mass media at a low level The activity media was at a moderate level. And personal media at a high level Clay-like nature The key of mango. Anthracnose is often found. The major insect pest of mangos, fruit flies, used benzomyl to kill the average yield of 456.75 kg / rai. And sell mangoes at an average price of 36.43 baht per kilogram Farmers practice good and appropriate agricultural practices in every issue. Most level (4) Farmers need support channels from individual media. Print media And electronic media And needed a means of promoting a field trip at the highest level Suggestion Promotion of mango production by farmers There should be assistance to farmers in terms of production costs, such as reducing the price of fertilizers, chemicals and agricultural equipment, and educating farmers on New manufacturing technologies To increase the number of output Including marketing mattersen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.22 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons